การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี วันพฤหัสบดีที่ 24 กันยายน 2558 บรรยายโดย นางสาวพัชราวดี แพรัตกุล รักษาการแทนผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี
สำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักงานประกันคุณภาพ สำนักงานบริการวิชาการ โครงสร้างองค์กร สำนักงานอธิการบดี กองกลาง กองการเจ้าหน้าที่ กองกิจการนิสิต กองคลัง กองแผนงาน กองยานพาหนะฯ กองวิเทศสัมพันธ์ สถานพยาบาล สำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักงานกฎหมาย สำนักงานประกันคุณภาพ สำนักงานทรัพย์สิน สำนักงานบริการวิชาการ สำนักการกีฬา
การบริหารงานตามภารกิจ 1. ด้านนิสิต 2. ด้านบริการวิชาการ 3. ด้านบุคลากร 4. ด้านการเงิน กองกิจการนิสิต สำนักงานบริการวิชาการ - กองคลัง - สำนักงานตรวจสอบภายใน กองการเจ้าหน้าที่ 5. ด้านการดูแลและจัดหาสิทธิประโยชน์จากทรัพย์สินของ ม. 6. ด้านการต่างประเทศ 7. ด้านคุณภาพชีวิตและสุขภาพ 8. ด้านสภาพแวดล้อม และความปลอดภัย กองวิเทศสัมพันธ์ - สถานพยาบาล - สำนักการกีฬา สำนักงานทรัพย์สิน กองยานพาหนะฯ 9. ด้านแผนงาน และการประกันคุณภาพ 10. ด้านบริหารจัดการงานสารบรรณ และงานกฎหมาย - กองแผนงาน - สำนักงานประกันคุณภาพ - กองกลาง - สำนักงานกฎหมาย
วิสัยทัศน์ สำนักงานอธิการบดี เป็นศูนย์รวมของหน่วยงานที่เข้มแข็ง มุ่งมั่นบริการ ประสานภารกิจ เพื่อสนับสนุนการบริหารงานตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย ภารกิจ ประสานภารกิจและให้บริการอย่างมีคุณภาพ เพื่อสนับสนุนการบริหารงานตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย
รูปแบบการบริหาร โครงสร้างการบริหารมหาวิทยาลัย กำหนดให้รองอธิการบดี/ผู้ช่วยอธิการบดีเป็นผู้กำกับดูแลการบริหารจัดการกอง/สำนักงาน การกำหนดเป้าหมาย และผลสำเร็จของการดำเนินงาน และกลไกการกำกับดูแลสำนักงานอธิการบดีจึงประเมินผ่านการรายงานผล แต่ขาดการให้ความสำคัญของการติดตามผลการปฏิบัติงานผ่านระบบการประกันคุณภาพ มีการรายงานผลการประเมินให้รองอธิการบดี/ผู้ช่วยอธิการบดีที่กำกับ แต่ละหน่วยงานรับทราบข้อมูลเพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไข
ข้อจำกัดในการประกันคุณภาพการดำเนินงาน สำนักงานอธิการบดีประกอบด้วยหน่วยงานในสังกัดที่มีภารกิจ การบริการที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน ในแต่ละการบริการ มีหน่วยงานรับผิดชอบหลักที่ชัดเจนเพียงหน่วยงานเดียว และไม่สามารถให้หน่วยงานอื่นให้บริการทดแทนกันได้ ผู้รับบริการหลักของสำนักงานอธิการบดี คือบุคคลภายในมหาวิทยาลัย ได้แก่ ผู้บริหารมหาวิทยาลัย อาจารย์ บุคลากรสายสนับสนุน และนิสิต มีเพียงบางบริการที่ผู้รับบริการเป็นบุคคลภายนอก ภารกิจเน้นการให้บริการกับบุคคลภายในมหาวิทยาลัยเป็นหลัก การมุ่งแสวงหาผู้รับบริการจากภายนอกจึงเป็นภารกิจรองของสำนักงานอธิการบดี
1. ผลลัพธ์ด้านผลิตภัณฑ์ และด้านกระบวนการที่มุ่งเน้นผู้รับบริการ ลำดับ ตัวชี้วัด ผลลัพธ์ 1 จำนวนการให้บริการที่ได้รับการปรับปรุงให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ 23 กระบวนการ
2. ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลของกระบวนการทำงาน ลำดับ ตัวชี้วัด ผลลัพธ์ 2 จำนวนช่องทางการสื่อสารกับบุคลากร 11 ช่องทาง 3 ผลการประเมินการปฏิบัติงานของหน่วยงาน 4.50 คะแนนเต็ม 5 4 จำนวนกระบวนการหลักที่มีการพัฒนาปรับปรุง 22 กระบวนการ 5 จำนวนการให้บริการที่ดำเนินการได้ตามมาตรฐานระยะเวลาที่กำหนดไว้ 26 กระบวนการ 6 ร้อยละของทรัพย์สินที่สูญหายลดลง 79.34 7 ร้อยละของอุบัติเหตุที่ลดลง 100 8 จำนวนนวัตกรรม/แนวปฏิบัติที่ดี 13 ผลงาน
3. ผลลัพธ์ด้านการจัดการห่วงโซ่อุปทาน ลำดับ ตัวชี้วัด ผลลัพธ์ 9 จำนวนกระบวนการทำงาน/การให้บริการที่ปรับลดขั้นตอน/ ลดระยะเวลา 11 กระบวนการ 10 จำนวนสารสนเทศที่หน่วยงานใช้ในการบริหารจัดการ 47 ระบบ/ฐานข้อมูล
4. ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นผู้รับบริการและลูกค้ากลุ่มอื่น ลำดับ ตัวชี้วัด ผลลัพธ์ 11 จำนวนช่องทางการสื่อสารกับผู้รับบริการ 12 ช่องทาง 12 ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อระบบสารสนเทศของหน่วยงาน 3.84 คะแนนเต็ม 5 13 จำนวนข้อเสนอแนะของผู้รับบริการที่ได้รับการปรับปรุงแก้ไข 30 ข้อ 14 สถิติผู้เข้าใช้ระบบสารสนเทศของหน่วยงาน
สถิติผู้เข้าใช้ระบบสารสนเทศของหน่วยงาน หน่วยงานจัดเก็บข้อมูล ลำดับ ประเภทระบบสารสนเทศ จำนวนผู้เข้าใช้ระบบ หน่วยงานจัดเก็บข้อมูล 1 ระบบกองคลังออนไลน์ มากกว่า 100 คน/วัน กองคลัง 2 เว็บไซต์หน่วยงาน 42,800 ครั้ง 845,130 ครั้ง 2,081 ครั้ง (3 เดือน) 14,271 ครั้ง 82,337 ครั้ง 64,000 ครั้ง 14,384 ครั้ง 48,693 ครั้ง กองการเจ้าหน้าที่ กองกิจการนิสิต กองวิเทศสัมพันธ์ สถานพยาบาล สำนักงานประกันคุณภาพ สำนักงานบริการวิชาการ สำนักการกีฬา ส่วนกลางสำนักงานอธิการบดี 3 Facebook หน่วยงาน Fanpage หน่วยงาน 1,450 คน 2,881 Like 267 Like กองยานพาหนะฯ
4. ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นผู้รับบริการและลูกค้ากลุ่มอื่น (ต่อ) ลำดับ ตัวชี้วัด ผลลัพธ์ 15 ร้อยละของผู้รับบริการกลุ่มต่างๆ ที่เพิ่มขึ้น - ด้านคุณภาพชีวิตและสุขภาพ (สถานพยาบาล) - ด้านการดูแลและจัดหาสิทธิประโยชน์จากทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย (การให้เช่าที่ดิน อาคารราชพัสดุ) สำนักงานทรัพย์สิน -9.52 8.38 16 ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ 3.99 คะแนนเต็ม 5
5. ผลลัพธ์ด้านบุคลากร ลำดับ ตัวชี้วัด ผลลัพธ์ 17 จำนวนองค์ความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ 30 เรื่อง 18 ระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อการพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม 4.04 คะแนนเต็ม 5 19 ระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อการบริหารและการพัฒนาบุคลากรของหน่วยงาน - บุคลากรมีความพึงพอใจต่อการบริหารงาน - บุคลากรมีความพึงพอใจต่อการพัฒนาบุคลากร 3.84 3.71 20 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาความรู้ และทักษะ ที่สอดคล้องกับการปฏิบัติงาน 87.7
6. ผลลัพธ์ด้านการนำองค์การ ธรรมาภิบาล และความรับผิดชอบต่อสังคม ลำดับ ตัวชี้วัด ผลลัพธ์ 21 ผลการประเมินภาวะผู้นำผู้บริหารหน่วยงานในสังกัดสำนักงานอธิการบดี 3.84 คะแนนเต็ม 5 22 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการบริหารความเสี่ยงภายในหน่วยงานตามแผนบริหารความเสี่ยง 100
7. ผลลัพธ์ด้านการนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ ลำดับ ตัวชี้วัด ผลลัพธ์ 23 ร้อยละของการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติการ (Action Plan) 87.19 24 การติดตามผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการ 2 ครั้ง/ปี 25 พัฒนาการของผลดำเนินงานของสำนักงานอธิการบดี - ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ - ภาวะผู้นำของผู้บริหารหน่วยงาน - รายได้จากการบริหารจัดการทรัพย์สินของหน่วยงาน ร้อยละ(เพิ่มขึ้น) 0.76 2.13 7.75
8. ผลลัพธ์ด้านงบประมาณ การเงิน และตลาด ลำดับ ตัวชี้วัด ผลลัพธ์ 26 ประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณเงินรายได้ ร้อยละ 128.89 27 สัดส่วนงบประมาณเงินรายได้ : งบประมาณแผ่นดินที่หน่วยงานได้รับจัดสรร 67 : 33 28 ร้อยละของรายได้จากการบริหารจัดการทรัพย์สินที่เพิ่มขึ้น 7.75 29 ต้นทุนต่อหน่วยในการให้บริการ ในการให้บริการของสำนักงานอธิการบดี มีการคิดต้นทุนต่อหน่วยเพื่อพิจารณาความคุ้มค่าในการให้บริการในแต่ละด้าน ซึ่งคำนวณตามโครงการ/กิจกรรม โดยมีรายละเอียด อยู่ในรายงานฯ หน้า 68-71
การบริหารจัดการการประกันคุณภาพ สำนักงานอธิการบดีในอนาคต สำนักงานอธิการบดีจะพิจารณากำหนดเป้าหมาย ผลผลิตตามภารกิจหลัก ในระดับภาพรวมของสำนักงานอธิการบดีที่เหมาะสมกับลักษณะขององค์กร เพื่อใช้ในการประเมินคุณภาพต่อไป