การมีส่วนร่วมในระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของบุคลากร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
Advertisements

สถิติพื้นฐานที่มีโอกาสนำไปใช้บ่อย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
Chapter 3: Expected Value of Random Variable
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
(Statistical Package for the Social Sciences : SPSS)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
Probability & Statistics
Probability & Statistics
Graphical Methods for Describing Data
มาตรฐานการวัด คุณภาพตัวชี้วัด และ สถิติ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
การศึกษาความพึงพอใจของ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
Week 10 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น #2
Computer Programming for Engineers
การวิเคราะห์สถิติ SPSS for Windows
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การ Recode ข้อคำถามที่เป็นเชิงลบ
Basic Statistical Tools
Basic Statistical Tools
Basic Statistics พีระพงษ์ แพงไพรี.
วิทยาลัยเทคโนโลยีไออาร์พีซี
หลักการ เบื้องต้น ของการใช้สถิติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ประเภทบุคลากร นักวิชาการสาธารณสุข, นักทรัพยากรบุคคล, จพ.ธุรการ Production Line 1.จัดทำแผนบุคลากร 2.จัดประชุม/สัมมนา 3.ประเมินผลและจัดการความรู้ 4.ร่วมผลิตบุคลากรทางการแพทย์
สถานที่ออกฝึก “ สาขาคณิตศาสตร์และสถิติ ” คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ.
กิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ e- meeting วันศุกร์ที่ 20 เมษายน 2555.
งานธุรการ ให้บริการผู้บริหาร ครู และบุคลากร เกี่ยวกับงานธุรการและ เอกสารสำคัญ บริการที่มีคุณภาพ ตอบสนองด้วยความเป็น มิตร รวดเร็ว มักจะเกิดปัญหาและอุปสรรคต่าง.
Collecting / Grouping / Sorting Data
กำหนดทิศทางของสถานศึกษา
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ เพื่อการทำวิจัยอย่างง่าย
"วิธีวิเคราะห์แบบสอบถาม หรือแบบประเมิน ด้วยโปรแกรม SPSS"
สถิติเบื้องต้นในการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics)
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความพร้อมเพื่อการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลของผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง Factors Related to Readiness for Hospital Discharge.
สถิติเพื่อการวิจัยและ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิทยาลัยเทคโนโลยีธีรภาดา จังหวัดร้อยเอ็ด
บทที่ 10 สถิติเชิงบรรยาย
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
โดย นายไพสุข สุขศรีเพ็ง รหัสนักศึกษา
การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
ผู้ดำเนินการวิจัย นางสาว นิลุบล สุวลักษณ์ รหัสนักศึกษา
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ในสถานศึกษา
คะแนนและความหมายของคะแนน
การประเมินสุขภาพของเด็ก
ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET,NT 2558
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
National Coverage กพ.62 รายจังหวัด
หลักการคำนวณค่าทางสถิติพื้นฐาน
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
บทที่ 3 การพยากรณ์ยอดขาย การบริหารงานอุตสาหกรรม.
ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย
จำนวนรายการยาเฉลี่ยต่อผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก แยกตามภาควิชา (ไม่รวม ER) สูตรการคำนวณ = จำนวนรายการยาทั้งหมดที่สั่งจ่ายให้แก่ผู้ป่วยนอก.
ประจำปีการศึกษา พุทธศักราช 2555
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
DISTRIBUTIONS DERIVED FROM THE NORMAL DISTRIBUTION
Chapter 3: Measures of Central Tendency and Measure of Dispersion
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การมีส่วนร่วมในระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ โดย นางจิตรสนา พรมสุทธิ

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาความรู้ ทัศนคติและการมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพการศึกษา ของบุคลากรในวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ เพื่อพัฒนาการมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพการศึกษาของบุคลากรในวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง อาจารย์ และบุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2557 จำนวน 45 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกกลุ่มตัวอย่าง แบบเจาะจง

วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS ผู้วิจัยนำข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถาม โดยการแจกแจงความถี่ (Frequency) คำนวณหาค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

ที่มีต่อการประกันคุณภาพการศึกษา ผลการวิจัย ทัศนคติของบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ที่มีต่อการประกันคุณภาพการศึกษา ข้อที่ ด้าน µ แปลผล 1 การควบคุมของบุคลากรต่อการประกันคุณภาพการศึกษา 4.10 มาก 2 การติดตาม/ตรวจสอบของบุคลากรต่อการประกันคุณภาพการศึกษา 4.09 3 การประเมินผลของบุคลากรต่อการประกันคุณภาพ 4.17 รวม 4.12

ในภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมาก (ค่าเฉลี่ย 4.12) พบว่าบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ มีทัศนคติต่อการประกันคุณภาพการศึกษา จากตารางที่ 1 ในภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมาก (ค่าเฉลี่ย 4.12) รายด้าน ด้านการประเมินผลของบุคลากรต่อการประกันคุณภาพ มากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.17)

ผลการวิจัย การมีส่วนร่วมของบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ในการประกันคุณภาพการศึกษา ข้อที่ ด้าน µ แปลผล 1 การวางแผน 3.35 ปานกลาง 2 การปฏิบัติและดำเนินการ 3.80 3 การตรวจสอบ/ประเมิน 4.33 มาก 4 การนำผลการประเมินไปปรับปรุง/แก้ไข 3.73 รวม

ในภาพรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 3.80) พบว่า บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ มีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพการศึกษา จากตารางที่ 2 ในภาพรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 3.80) เมื่อพิจาณาเป็นรายด้านพบว่า บุคลากรมีส่วนร่วมในด้าน การตรวจสอบ ประเมิน มากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.33) รองลงมาได้แก่ มีส่วนร่วมในด้านการปฏิบัติและดำเนินการ (ค่าเฉลี่ย 3.80) การนำผลการประเมินไปปรับปรุง แก้ไข (ค่าเฉลี่ย 3.73) และการวางแผน (ค่าเฉลี่ย 3.35) ตามลำดับ

อภิปรายผลการวิจัย บุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ มีทัศนคติต่อการประกันคุณภาพการศึกษา ในภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมาก (ค่าเฉลี่ย 4.12) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า บุคลากรวิทยาลัยเทคโลยีพณิชยการเชียงใหม่ มีความพึงพอใจในด้านการประเมินผลของบุคลากรต่อการประกันคุณภาพ มากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.17) รองลงมาได้แก่ การควบคุมของบุคลากรต่อการประกันคุณภาพการศึกษา (ค่าเฉลี่ย 4.10) และการติดตาม/ตรวจสอบของบุคลากรต่อการประกันคุณภาพการศึกษา ค่าเฉลี่ย 4.09)

อภิปรายผลการวิจัย บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ มีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพการศึกษา ในภาพรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 3.80) เมื่อพิจาณาเป็นรายด้านพบว่า บุคลากรมีส่วนร่วมในด้าน การตรวจสอบ ประเมิน มากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.33) รองลงมาได้แก่ มีส่วนร่วมในด้านการปฏิบัติและดำเนินการ (ค่าเฉลี่ย 3.80) การนำผลการประเมินไปปรับปรุง แก้ไข ค่าเฉลี่ย 3.73) และการวางแผน (ค่าเฉลี่ย 3.35)

ข้อเสนอแนะจากการวิจัย จากผลการวิจัย พบว่า บุคลากรมีส่วนร่วมในการวางแผน กำหนดนโยบาย กลยุทธ์ และแผนการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาใน ระดับปานกลาง ดังนั้น ฝ่ายบริหารควรหาแนวทาง/วิธีการใหม่ ๆ พื่อเปิดโอกาสให้บุคลากร มีส่วนร่วมมากขึ้น โดยอาจจะเริ่มจากให้บุคลากรได้แสดงความคิดเห็นในระดับแผนก เพื่อนำไปสู่การมีส่วนร่วมในระดับฝ่ายต่อไป หรือการจัดประชุมกลุ่มย่อย เพื่อให้บุคลากรได้เสนอความคิดเห็นต่อการวางแผนการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย

ข้อเสนอแนะจากการวิจัย จากผลการวิจัย พบว่า บุคลากรมีความพึงพอใจในด้าน การประเมินผลของบุคลากรต่อการประกันคุณภาพ อันจะเห็นได้ว่า บุคลากรให้ความสำคัญกับ ผลสัมฤทธิ์ของงานเป็นอันดับแรก ดังนั้น ทางวิทยาลัยฯ ควรสนับสนุนอุปกรณ์ในการทำงานอย่างเพียงพอ มีการสร้างขวัญ กำลังใจ และแรงจูงใจให้บุคลากรทำงานอย่างมี ประสิทธิภาพต่อไป

ผลกระทบที่เกิดขึ้น จากผลการวิจัยแสดงให้เห็นวา การประเมินคุณภาพการศึกษาและการผดุงระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ตองไดรับ การสงเสริมและพัฒนา เนื่องจากการแสดงความคิดเห็นของผูเกี่ยวของที่มีตอการปฏิบัติงาน โดยเฉพาะอยางยิ่ง ดานการประเมินคุณภาพการศึกษา ซึ่งเปนประเด็นสําคัญในการสะทอนภาพสัมฤทธิผลเชื่อมโยง ไปสูการปรับปรุงและหรือการพัฒนาที่ยั่งยืนตอไป

ดังนั้น สถานศึกษาทุกแหง ดังนั้น สถานศึกษาทุกแหง จึงควรตระหนักถึงความสําคัญของการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา มีการสงเสริมและพัฒนาระบบการปฏิบัติงานการประกันคุณภาพภายในใหเขมแข็ง โดยเนนใหทุกดานมีความสําคัญเทาเทียมกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งบทบาทของ ผูเกี่ยวของของสถานศึกษา

ขอบคุณค่ะ