ความรู้เกี่ยวกับ กองทุนประกันสังคม 1.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Patient safety solutions
Advertisements

Morse Curve.
and Sea floor spreading
อินเตอร์เซกชั่น (Intersection) คอมพลีเมนต์ (Complement)
อินเตอร์เซกชั่น (Intersection) คอมพลีเมนต์ (Complement)
Fracture tibia and fibula
หัวข้อการจัดอบรม iOPPP Datacenter
ระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศโรคเรื้อรัง
other chronic diseases
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
นายเลิศสิน รักษาสกุลวงศ์ ผู้อำนวยการสำนักธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม
กฎข้อบังคับสื่อสารโทรคมนาคม
ด.ช.ปรีชา แผ่นทอง ป6/3 ด.ช.จักรภัทร วรานสินธุ์
แปรรูปกระดาษ Paper Recycling
TOXICOLOGY - สัตว์ทดลอง (experiment) ๏ acute ๏ sub-acute (sub-chronic)
ส่วนประกอบของแบตเตอรี่
ส่วนประกอบของแบตเตอรี่
Thalassemia พญ. พิชญานันท์ คู่วัจนกุล
การดำเนินการระหว่างเหตุการณ์
ในแต่ละเดือนเมื่อตรวจสอบข้อมูลจนมีผลงานผ่านร้อยละ 100 หรือสูงกว่า 95 ขอให้จัดเก็บแฟ้ม chronic และ person ลงฐานข้อมูลด้วย เพื่อใช้ในการตรวจสอบความ ซ้ำซ้อนของข้อมูลที่ส่งในเดือนถัดไป.
Wound classification Wound Healing.
SECTION VIEWS การเขียนภาพลายตัด week 5
10 ประเทศอาเซียน.
คุณสมบัติของภาษาเรกูลาร์
Bone and joint infections
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกประวัติ ความเป็นมาของโปรแกรม FreeMind ได้ 2. บอกความหมายและสามารถเลือกใช้โปรแกรม Open Source Software ได้ 3. บอกความหมายของการอับโหลดและการดาวน์
Thalassemia Sudawadee Ekwitayawechnukul, MD. Thalassemia Treatment Complication of thalassemia Complication of secondary hemochromatosis Iron chelation.
การพยาบาลผู้ป่วย on external and internal fixation
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
“ศึกษาการประยุกต์ใช้ พลังงานรังสีอาทิตย์ร่วมกับ พลังงานไฟฟ้าช่วยในการ กลั่นเอทานอล” พรประสิทธิ์ คงบุญ และคณะ, 2549, การกลั่นเอทานอลโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์
แผนยุทธศาสตร์และการบริหารโครงการ
เอกสารประกอบการสอน วิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมบริการ (TAH1201) Tourism Industry and Hospitality Management Program.
Buriram Public Health ทำไมต้องตั้งค่าและจัดการข้อมูลสะสม
คู่มือการใช้มัลติมิเตอร์ (Multimeters)
การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า( )
สิทธิประโยชน์การลงทุน ภายใต้เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลกในอดีต
BONE INFECTION (osteomyelitis)
Piyadanai Pachanapan, Electrical System Design, EE&CPE, NU
พัฒนาการความคิดทางคณิตศาสตร์
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว
สถานการณ์ข้อมูลสารสนเทศด้านสาธารณสุข ปี 2560
GATT & WTO.
By Poonyaporn Siripanichpong
รายละเอียดการแข่งขันทักษะวิชาชีพครั้งที่ 31
HDC CVD Risk.
การบดอัดดิน.
Chapter 9 กฎหมายพาณิชย์ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส Edit
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) จังหวัดเพชรบุรี ปี 2558
Welcome! ภาคการศึกษา 2 /2546 วิชา การเงินระหว่างประเทศ (International Finance) ผู้สอน ดร. ลักคณา วรศิลป์ชัย 4/10/2019.
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
เซต (SET) เราไม่สามารถให้คำจำกัดความกับค่าว่าเซตหรือสมาชิก
แนวทาง/ทิศทางการดำเนินงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวชในวัยเด็กและวัยรุ่น
ประวัติการพิมพ์ออฟเซต
1.การส่งข้อมูล 12&21และรายงาน 43+7 แฟ้มมาตรฐาน ผ่านสสจ.ชลบุรี
ดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
การกำหนดเลขหมายโทรศัพท์
อ.ดร.พิมพ์ใจอุ่นบ้าน MD.พยาบาลชุมชน เวชปฏิบัติ
Conditional sentences
บทที่ 1 การวางแผนการปฏิบัติงานสำหรับงานขนส่ง
การขยายพันธุ์พืช.
ประชุมเครือข่าย COPD จังหวัดเชียงใหม่
ความเป็นพิษ อันตราย และการปฐมพยาบาล
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
Moni Finex ห่วงโซ่บล็อกแรกและ Crypto สกุลเงินตาม
บรรยายครั้งที่ 7 - กราฟิกวิศวกรรม 1
Thailand’s Field Epidemiology Workforce development
การขยายพันธุ์พืช.
Ecology Relationships
การเปลี่ยนแปลงธรณีภาค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เกี่ยวกับ กองทุนประกันสังคม 1

กฎหมายประกันสังคม - พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2537 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542 - พระราชกฤษฎีกา - กฎกระทรวง - ประกาศสำนักงานประกันสังคม - ระเบียบสำนักงานประกันสังคม 2

ประเภทของผู้ประกันตน โดยบังคับด้วยกฎหมาย ผู้ประกันตน ม. 33 โดยสมัครใจ ผู้ประกันตน ม. 39 ม.40 ทั่วประเทศมีประมาณ 5 คน เงินสมทบจ่ายเป็นรายปีๆ ละ สามพันกว่าบาท ไม่คุ้มครองกรณีเจ็บป่วย ผู้ประกันตน ม. 40 3

การให้ประโยชน์ทดแทน ตาม พ.ร.บ.ประกันสังคม คุ้มครองกรณีไม่เนื่องจากการทำงาน 1) ประสบอันตราย/เจ็บป่วย คุ้มครองกรณี ไม่เนื่องจากการทำงาน 2) ทุพพลภาพ 3) ตาย 4) คลอดบุตร 5) สงเคราะห์บุตร 6) ชราภาพ 7) ว่างงาน 4

กรณีเจ็บป่วย - ทุพพลภาพ กองทุนประกันสังคม เงื่อนไขการได้สิทธิ กรณีเจ็บป่วย - ทุพพลภาพ จ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 3 เดือนภายใน 15 เดือนก่อนป่วย - ทุพพลภาพ กรณีคลอดบุตร จ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 7 เดือน ภายใน 15 เดือนก่อนคลอด กรณีตาย จ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 1 เดือน ภายใน 6 เดือนก่อนตาย กรณีสงเคราะห์บุตร จ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 12 เดือน ภายใน 36 เดือนก่อนมีสิทธิ กรณีว่างงาน จ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 6 เดือน ภายใน 15 เดือนก่อนว่างงาน 5

กรณีประสบอันตราย/เจ็บป่วย สิทธิประโยชน์ การบริการทางการแพทย์จากสถานพยาบาล การบำบัดทดแทนไต/การปลูกถ่ายไขกระดูก การผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะกระจกตา การถอนฟัน อุดฟัน ขูดหินปูน และการใส่ฟันเทียม บางส่วนชนิดถอดได้ฐานอคริลิก อวัยวะเทียมและอุปกรณ์ในการบำบัดรักษาโรค เงินทดแทนการขาดรายได้ 6

การบริการทางการแพทย์จากสถานพยาบาล ตามบัตรรับรองสิทธิ ฯ กรณีประสบอันตราย/เจ็บป่วย 1. ได้รับบริการทางการแพทย์จนสิ้นสุดการรักษา โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใด ๆ เมื่อเข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลที่ระบุในบัตรรับรองสิทธิการรักษาพยาบาลหรือเครือข่ายของสถานพยาบาลนั้น 2. ได้รับการตรวจวินิจฉัยโรค/บำบัดทางการแพทย์ 7

(ต่อ) 5. ให้ได้รับการจัดส่งต่อ เพื่อรักษาระหว่างสถานพยาบาล 3. ได้รับการกินอยู่ และการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลสำหรับคนไข้ใน 4. ให้ได้รับยาและเวชภัณฑ์ที่มีมาตรฐานไม่ต่ำกว่ามาตรฐานบัญชียาหลักแห่งชาติ 5. ให้ได้รับการจัดส่งต่อ เพื่อรักษาระหว่างสถานพยาบาล 6. ให้ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โดยมีการให้สุขศึกษาและภูมิคุ้มกันโรคตามโครงการแห่งชาติ 8

โรคที่กำหนดให้ไม่อยู่ในความคุ้มครอง ในด้านบริการทางการแพทย์ มี 14 โรค คือ 1. โรค หรือการประสบอันตรายอันเนื่องมาจากการใช้สารเสพติด ตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติด 2. โรคเดียวกันที่ต้องใช้ระยะเวลารักษาตัวในโรงพยาบาลประเภทคนไข้ในเกิน 180 วัน ในหนึ่งปี 3.การบำบัดทดแทนไตกรณีไตวายเรื้อรัง ยกเว้นกรณีเจ็บป่วยด้วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายให้มีสิทธิได้รับบริการทางการแพทย์โดยการบำบัดทดแทนไตด้วยวิธีการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ด้วยวิธีการล้างช่องท้องด้วยน้ำยาแบบถาวร และด้วยวิธีการปลูกถ่ายไต ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข 4. การกระทำใด ๆ เพื่อความสวยงามโดยไม่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ 9

โรคที่กำหนดให้ไม่อยู่ในความคุ้มครอง(ต่อ) 5. การรักษาที่ยังอยู่ในระหว่างการค้นคว้าทดลอง 6.. การรักษาภาวะมีบุตรยาก 7.. การตรวจชิ้นเนื้อ เพื่อการผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ 8.. การตรวจใด ๆ ที่เกินความจำเป็นในการรักษาโรคนั้น 9. การผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ ยกเว้น การปลูกถ่ายไขกระดูก และการผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะกระจกตา 10. การเปลี่ยนเพศ 11. การผสมเทียม 12. การบริการระหว่างรักษาตัวแบบฟักฟื้น 13. ทันตกรรม ยกเว้น ถอนฟัน อุดฟัน ขูดหินปูน และการใส่ฟันเทียมบางส่วนชนิดถอดได้บางส่วน และถอดได้ทั้งปากตามหลักเกณฑ์ฯ 14. แว่นตา 10

ขั้นตอนปฏิบัติกรณีประสบอันตราย /เจ็บป่วยฉุกเฉิน ก .ผู้ประกันตนเข้า ร.พ. ตามบัตร ฯ ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ข .ผู้ประกันตนเข้าร.พ.อื่นที่ไม่ใช่ ร.พ.ตามบัตร ฯ จ่ายค่ารักษาไปก่อน รีบแจ้ง ร.พ.ที่ระบุในบัตร นำใบเสร็จมาเบิก สปส.เขตพื้นที่/ จังหวัด ร.พ.ตามบัตรรับตัวไปรักษาต่อ รักษาต่อที่ ร.พ.เดิม สปส.จ่ายค่ารักษาภายใน 72 ชม.แรก ร.พ. ตามบัตรรับผิดชอบค่ารักษาที่เกิดขึ้นหลังจากรับแจ้ง 11

ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฯ ฉบับใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 13 เมษายน 2548 ข .ผู้ประกันตนเข้าร.พ.อื่นที่ไม่ใช่ ร.พ.ตามบัตร ฯ (ต่อ) ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฯ ฉบับใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 13 เมษายน 2548 1. กรณีประสบอันตราย 2. กรณีเจ็บป่วย ฉุกเฉิน ไม่จำกัดจำนวนครั้ง ไม่จำกัดจำนวนครั้ง 12

กรณีประสบอันตราย / เจ็บป่วยฉุกเฉิน ข .ผู้ประกันตนเข้าร.พ.อื่นที่ไม่ใช่ ร.พ.ตามบัตร ฯ (ต่อ) กรณีประสบอันตราย / เจ็บป่วยฉุกเฉิน เข้ารักษารพ.รัฐบาล ผู้ป่วยใน ผู้ป่วยนอก - สปส.รับผิดชอบค่ารักษาเท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 72 ชม.แรก - ค่าห้องค่าอาหารไม่เกิน 700 บาท/วัน สปส.รับผิดชอบค่ารักษา เท่าที่จ่ายจริงทั้งหมด 13

กรณีประสบอันตราย / เจ็บป่วยฉุกเฉิน ข .ผู้ประกันตนเข้าร.พ.อื่นที่ไม่ใช่ ร.พ.ตามบัตร ฯ (ต่อ) กรณีประสบอันตราย / เจ็บป่วยฉุกเฉิน เข้ารักษารพ.เอกชน ผู้ป่วยใน ผู้ป่วยนอก สปส.รับผิดชอบค่ารักษา ตามประกาศฯ กำหนด สปส.รับผิดชอบค่ารักษาตามประกาศฯกำหนดภายใน 72 ชม.แรก 14

ข .ผู้ประกันตนเข้าร.พ.อื่นที่ไม่ใช่ ร.พ.ตามบัตร ฯ(ต่อ) ค่าพาหนะ 1. การรับหรือส่งตัวผู้ประกันตนระหว่างรพ.ที่ตั้งอยู่ใน จังหวัดเดียวกัน (ที่มิใช่รพ.ตามบัตรฯ) - ค่ารถพยาบาล/เรือพยาบาล 500 บาท - ค่ารถรับจ้าง 300 บาท 2. การรับหรือส่งตัวผู้ประกันตนระหว่างรพ.ที่ตั้งอยู่ใน จังหวัดอื่น(ที่มิใช่รพ.ตามบัตรฯ) เพิ่มให้อีกในอัตรา กิโลเมตรละ 6 บาท 15

กรณีบำบัด ทดแทนไต การล้างช่องท้องด้วยน้ำยาแบบถาวร การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม รวมตั้งแต่เริ่มต้น จนปลูกถ่ายเสร็จ และการดูแล หลังปลูกถ่าย มีค่าใช้จ่ายประมาณ 860,000 บาท ประกันสังคมรับผิดชอบให้ทั้งหมด - ฟอกเลือดไม่ต่ำกว่าสัปดาห์ละ 2 ครั้ง ครั้งละไม่น้อยกว่า 4 ชั่วโมง - จ่ายแก่รพ.ในความตกลงไม่เกิน 1,500 บาท/ครั้ง และไม่เกิน 3,000 บาท/สัปดาห์ - ผู้ประกันตนต้องได้รับการตรวจด้วย อายุรแพทย์โรคไตไม่น้อยกว่าเดือน ละ 1 ครั้ง - จ่ายแก่รพ.ในความตกลงเป็นค่าน้ำยา พร้อมอุปกรณ์เท่าที่จ่ายจริงไม่เกินเดือนละ 15,000 บาท ยกเว้นเดือนแรกเฉลี่ยวันละ 500 บาท กรณีบำบัด ทดแทนไต การปลูกถ่ายไต จ่ายแก่รพ.ในความตกลง - ค่าใช้จ่ายก่อนปลูกถ่าย 30,000 บาท/ราย - ค่าใช้จ่ายระหว่างปลูกถ่าย 230,000 บาท/ราย - ค่าใช้จ่ายหลังปลูกถ่าย ปีที่ 1 เดือนที่ 1-6 เดือนละ 30,000 บาท/ราย เดือนที่7-12 เดือนละ20,000 บาท/ราย ปีที่ 2 เดือนละ 15,000 บาท/ราย ปีที่ 3 ขึ้นไป เดือนละ 10,000 บาท/ราย การให้ยาอิริโธรปัวอิติน จ่ายให้แก่รพ.ในความตกลง - สัปดาห์ละ 750 บาทหากความเข้มข้น ของเลือดเท่ากับหรือต่ำกว่า 33 % - สัปดาห์ละ 375 บาทหากความเข้มข้น ของเลือดสูงกว่า 33% แต่ไม่เกิน 36% 16

กรณีปลูกถ่ายไขกระดูก กรณีเปลี่ยนอวัยวะกระจกตา - จ่ายแก่รพ.ในความตกลง - เหมาจ่ายอัตรา 750,000 บาท/ ราย - ค่าตรวจเนื้อเยื่อเท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 7,000 บาท/ราย (* ตามหลักเกณฑ์) - จ่ายแก่สถานพยาบาลในความตกลง - เหมาจ่ายอัตรา 20,000 บาท/ราย - จ่ายแก่ศูนย์ดวงตาสภากาชาดไทย 5,000 บาท/ราย 17

สิทธิประโยชน์กรณีทันตกรรม เริ่มใช้ 31 สิงหาคม 2554 สิทธิประโยชน์กรณีทันตกรรม เริ่มใช้ 31 สิงหาคม 2554 ผู้ประกันตนสามารถเข้ารับบริการทันตกรรม ในกรณี อุดฟัน ถอนฟัน ขูดหินปูน และการใส่ ฟันปลอมฐานอคิริก ได้ที่สถานบริการทันตกรรม ทุกแห่งตามความสะดวก โดยสามารถนำหลักฐาน ดังนี้ 1. แบบ สปส.2-16 ที่กรอกข้อมูลครบถ้วนถูกต้องทั้งในส่วน 18

2. ใบเสร็จรับเงินค่ารับบริการทันตกรรมที่ถูกต้องสมบูรณ์ ของผู้ประกันตนและในส่วนของใบรับรองแพทย์ 2. ใบเสร็จรับเงินค่ารับบริการทันตกรรมที่ถูกต้องสมบูรณ์ 3. บัตรประจำตัวประชาชน ไปขอเบิกกับสำนักงานประกันสังคมได้ทุกแห่งทั่วประเทศ ตามอัตราที่กำหนดดังนี้ การถอนฟัน การอุดฟัน และการขุดหินปูน เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น แต่ไม่เกิน 300 บาทต่อครั้ง และไม่เกิน 600 บาทต่อปี 19

สำหรับการใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้ ฐานอคริลิก เบิกได้ในอัตราเหมาจ่าย ดังนี้ - กรณีใส่ฟันเทียมไม่เกิน 5 ซี่ เหมาจ่าย 1,300 บาท - กรณีใส่ฟันเทียมเกิน 5 ซี่ขึ้นไป เหมาจ่าย 1,500 บาท ต้องใช้งานมาแล้วเกินกว่า 5 ปี จึงจะมีสิทธิเบิกค่าฟันเทียมใหม่ได้ 20

โรคเรื้อรัง 1. โรคมะเร็ง 2. โรคไตวายเรื้อรัง 3. โรคเอดส์ 1. โรคมะเร็ง 2. โรคไตวายเรื้อรัง 3. โรคเอดส์ 4. โรคหรือการบาดเจ็บของสมอง เส้นเลือดสมอง หรือกระดูกสันหลัง เป็นเหตุให้เป็นอัมพาต 5. ความผิดปกติของกระดูกหักที่มีภาวะแทรกซ้อน อันได้แก่ กระดูกหักที่มีการติดเชื้อ (chronic osteomyelitis) กระดูกติดช้า (delayed-union) กระดูกไม่ติด (nonunion) กระดูกผิดปกติ(malunion) หรือเหล็กดามกระดูกหัก (broken plate) 6. โรคหรือการเจ็บป่วยอื่น ๆ ที่ต้องรักษาตัวอย่างต่อเนื่องโดยไม่สามารถ ทำงานติดต่อกันได้เกินกว่าหนึ่งร้อยแปดสิบวัน ทั้งนี้โดยการวินิจฉัยของ คณะกรรมการการแพทย์ 21

อวัยวะเทียม/อุปกรณ์ในการบำบัดรักษาโรค (กรณีเจ็บป่วย/กรณีทุพพลภาพ) เฉพาะกรณีเจ็บป่วย เฉพาะกรณีทุพพลภาพ ทั้งกรณีเจ็บป่วยและ กรณีทุพพลภาพ - ลูกตาเทียม - วัสดุใส่หนุนรับลูกตาเทียม - เลนส์แก้วตาเทียม - เครื่องช่วยหูฟัง - เครื่องช่วยพูด - โลหะหรือพลาสติกดาม ลำตัวใช้บำบัดโรคหลังคด - แผ่นรองผู้ป่วยกันแผลกดทับ - ถุงเก็บน้ำปัสสาวะ - สายสวนปัสสาวะ - อุปกรณ์ในการพยุงข้อต่างๆ - โลหะหรือพลาสติกดามขา ภายนอก - เฝือกพยุงคอ/เอว/ลำตัว/ กระดูกสันหลัง - แขนเทียม/ขาเทียม - รถนั่งคนพิการ - ไม้เท้า/ไม้ค้ำยัน - รองเท้าคนพิการ - ถุงเก็บสิ่งขับถ่ายจาก ลำไส้ 22

เริ่ม 1 มกราคม 2550 สิทธิประโยชน์ กรณีคลอดบุตร ผู้ประกันตนสามารถเลือกโรงพยาบาลสำหรับการคลอดบุตร ได้เองตามสะดวก โดยสำรองจ่ายค่ารักษาพยาบาลไปก่อนทั้งหมด แล้วนำหลักฐานมายื่นขอเบิกกับสำนักงานประกันสังคมได้ทุกแห่งทั่วประเทศในอัตราเหมาจ่าย 13,000 บาท ต่อการคลอดหนึ่งครั้ง โดยจะมีสิทธิได้รับค่าคลอดบุตรคนละไม่เกิน 2 ครั้ง 23

ขั้นตอนการใช้สิทธิประโยชน์ทดแทนกรณีคลอดบุตร ผู้ประกันตน เข้ารับการฝากครรภ์และคลอดบุตรในสถานพยาบาลใดก็ได้ ตามความสะดวก โดยต้องสำรองจ่ายเงินค่ารักษาไปก่อนทั้งหมด ยื่นขอรับประโยชน์ทดแทน ต่อสำนักงานประกันสังคม ผู้ประกันตนชาย - ค่าคลอดบุตรเหมาจ่าย 13,000 บาท ต่อการคลอด 1 ครั้ง ผู้ประกันตนหญิง - ค่าคลอดบุตรเหมาจ่าย 13,000 บาทต่อการคลอด 1 ครั้ง - เงินสงเคราะห์ฯ 50% ของค่าจ้างเป็นเวลา 90 วัน 24

กรณีทุพพลภาพ กรณีตาย - ค่ารักษาพยาบาลไม่เกิน - ค่าทำศพ 40,000 บาท เดือนละ 2,000 บาท (ใช้สิทธิบัตร ประกันสุขภาพแห่งชาติได้ โดยต้อง ขึ้นทะเบียนกับสถานพยาบาล) - อวัยวะเทียม/อุปกรณ์ในการบำบัด รักษาโรค - ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพ 40,00 บาท/ราย - เงินทดแทนฯ 50% ของค่าจ้าง ตลอดชีวิต - ตายได้รับค่าศพและเงินสงเคราะห์ฯ - ค่าทำศพ 40,000 บาท - เงินสงเคราะห์ให้แก่ทายาท ดังนี้ จ่ายเงินสมทบตั้งแต่ 3 ปี แต่ไม่ถึง 10 ปี = ค่าจ้าง 1 เดือนครึ่ง จ่ายเงินสมทบ 10 ปีขึ้นไป = ค่าจ้าง 5 เดือน 25

กรณีสงเคราะห์บุตร - เป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 หรือมาตรา 39 - เงินสงเคราะห์บุตร 400 บาท/เดือน (*เริ่มจ่ายตั้งแต่ 1 มกราคม 2554) - บุตรแรกเกิด - 6 ปี - คราวละไม่เกิน 2 คน - เป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย - ผู้ประกันตนตายหรือทุพพลภาพ ให้ผู้อุปการะเป็นผู้รับเงินต่อ จนบุตรอายุครบ 6 ปี (* กฎกระทรวง ณ 31 มี.ค 2549) 26

รายชื่อธนาคารที่ใช้โอนเงินสงเคราะห์บุตร ธนาคาร กรุงไทย ธนาคาร กรุงศรีอยุธยา ธนาคาร นครหลวงไทย ธนาคาร ทหารไทย ธนาคาร กสิกรไทย รายชื่อธนาคารที่ใช้โอนเงินสงเคราะห์บุตร ธนาคาร ไทยพาณิชย์ ธนาคาร อิสลาม ธนาคาร กรุงเทพ ธนาคาร ไทยธนาคาร

กรณี ชราภาพ บำนาญชราภาพ บำเหน็จชราภาพ สิทธิประโยชน์ที่ได้รับ - อายุ 55 ปี และออกจากงาน - จ่ายเงินสมทบตั้งแต่ 180 เดือนขึ้นไป - ได้รับเงินรายเดือนตลอดชีวิต - อายุ 55 ปี และออกจากงาน - จ่ายเงินสมทบไม่ครบ180เดือน - ได้รับเงินคราวเดียว สิทธิประโยชน์ที่ได้รับ จ่ายเงินสมทบ180 เดือนได้รับเงิน บำนาญฯ = ร้อยละ 20 ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย จ่ายเงินสมทบเกิน 180 เดือน ปรับเพิ่มอีกร้อยละ 1.5 ต่อระยะ เวลาจ่ายเงินสมทบทุก 12 เดือน สิทธิประโยชน์ที่ได้รับ จ่ายเงินสมทบต่ำกว่า 12 เดือน ได้รับบำเหน็จฯ = จำนวนเงินสมทบของ ผปต. จ่ายเงินสมทบตั้งแต่ 12 เดือน = จำนวนเงินของ ผปต.และนายจ้าง พร้อมผลประโยชน์ตอบแทนตาม อัตราที่กำหนด 28 28

1. 2. ทายาทผู้มีสิทธิรับเงินบำเหน็จฯ กรณีผู้ประกันตนเสียชีวิต บิดา มารดา สามี/ภรรยา 2. บิดา มารดา สามี/ภรรยา บุตร บุตร บุตร บุตร หมายเหตุ บุตร 1-2 คนได้รับ 2 ส่วน บุตรตั้งแต่ 3 คนขึ้นไปได้รับ 3 ส่วน บุตร 29

ขอขอบคุณทุกท่าน