เป้าหมายการพัฒนางานวัยรุ่น ปี 2560

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
43 แฟ้ม HDC Datacenter ข้อมูลและรายงาน EPI.
Advertisements

1. แนวทางการดำเนินงาน OPPP individual ในปี 2559  ระยะเวลาการรับข้อมูล การดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2559  มาตรฐานโครงสร้างแฟ้มข้อมูล และแฟ้มที่จะรับ  รูปแบบ.
หมวดกลุ่มด้อยโอกาส ต่างด้าวและอื่นๆ
ประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาระบบบริการอนามัยแม่และเด็ก
สรุปผลการดำเนินงาน PMQA
การประเมินคุณภาพการให้รหัสโรค
Buriram Public Health ทำไมต้องตั้งค่าและจัดการข้อมูลสะสม
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
บทที่ 6 การกำหนดเวลางานโครงการ
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
แนวทางการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
การดำเนินการ CIPO Sepsis เขตสุขภาพที่ 1 ปีงบประมาณ 2560
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
เด็กอายุ 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
ตำบลจัดการสุขภาพ.
สถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้า
สรุปตรวจราชการรอบ 2 วันที่ 3 ส.ค.2561 ปัจจัยความสำเร็จ/ผลงานเด่น
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน กลุ่มวัยเรียน
PMQA. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอกุดรัง
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
ประกาศ มหาวิทยาลัยมหิดล (มีผลตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2556)
Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
สรุปผลงาน การคัดกรองมะเร็งเต้านม ปี จังหวัดเชียงใหม่
การบันทึกข้อมูล Social Risk ใน HDC
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
Function Based ตัวชี้วัดที่ 17
การพัฒนาคุณภาพข้อมูลสุขภาพ จังหวัดสระแก้ว
RDU Hospital ผลการดำเนินงาน ไตรมาส 1/2560 (ระดับการพัฒนา RDU ขั้นที่1) ปีงบประมาณ 60  ขั้นที่ 1 (เงื่อนไข 9 ข้อ) RDU- hospital 1. มีคณะกรรมการดำเนินงาน.
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านทุ่งโหลง อ. เมือง จ
นางบุญชอบ เกษโกวิท ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
สาขาการพัฒนาเครือข่าย สุขภาพอำเภอและบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 2
HDC Ncd PLus ธันวาคม 2560.
แผนงานปี 2561 กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ
การประเมิน RF 4.1 โรคไม่ติดต่อรอบ 2
ศูนย์อำนวยความสะดวก (TM Clearing House)
คณะที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
แนวทางการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2560
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
1.การส่งข้อมูล 12&21และรายงาน 43+7 แฟ้มมาตรฐาน ผ่านสสจ.ชลบุรี
โครงการสานพลังเครือข่ายและพัฒนาต้นแบบ การลด ละ เลิกสุรา
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต.
ยินดีต้อนรับ ทีมเยี่ยมเสริมพลัง พชอ. (AI)
เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
1.1 การตายที่ระบุสาเหตุ ไม่ชัดแจ้ง <= 25 % ของการตายทั้งหมด
อัตราส่วนการตายมารดาต่อการเกิดมีชีพแสนคน
การเขียนบทความทางวิชาการ
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
โปรแกรม District Health Data Center เพื่อการบริหารจัดการข้อมูล 43 แฟ้ม ระดับอำเภอ และ CUP ( DHDC ) 25 – 26 กรกฎาคม 2561 ห้องประชุม สำนักงานสาธาณสุขจังหวัดลำพูน.
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
การบริหารและควบคุมกำกับสารสนเทศสุขภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศ
(ตัวอย่าง)การวิเคราะห์สภาวะภายใน
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบัวงาม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
แผนปฏิบัติงาน การใช้งานโปรแกรม Thai COC
รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ และคณะทีมนิเทศระดับจังหวัด
สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
สรุปผลการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)
การจัดการข้อมูลสถานการณ์ภาวะโภชนาการของโรงเรียน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เป้าหมายการพัฒนางานวัยรุ่น ปี 2560 เป้าหมายการพัฒนางานวัยรุ่น ปี 2560 เป้าหมาย มาตรการ Essential task 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.มีระบบข้อมูลรายงานในระบบ HDC ที่ครอบคลุม ครบถ้วน ถูกต้อง พัฒนาศักยภาพบุคลากรของสถานบริการแต่ละระดับในการรวบรวมและบันทึกข้อมูลในฐานข้อมูล รายงาน 43 แฟ้ม และตรวจสอบการส่งออกข้อมูลไปยัง HDC 1.มีการวิเคราะห์ข้อมูลรายงานวัยรุ่นอายุ15-19 ปี 2.มีสภาพปัญหาที่ทำให้การบันทึกข้อมูลงานวัยรุ่นในฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ไม่มีคุณภาพ 1.เจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้รับความรู้และฝึกทักษะการบันทึกข้อมูล 43 แฟ้ม และส่งข้อมูลใน HDC ร้อยละ 100 2.เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานนำข้อมูลรายงานวัยรุ่นแยกรายประเภท วิเคราะห์ปัญหาพื้นที่ได้ 1.สถานบริการสาธารณสุขได้รับการติดตามในฐานข้อมูล 43 แฟ้ม /HDC ทุกเดือน 2.รพสต.ได้รับการสุ่มติดตามการลงบันทึกรายงาน โดยทีมระดับอำเภอ ร้อยละ 100 1.รพ.มีการบันทึกข้อมูลรายงานวัยรุ่นอย่างถูกต้อง ครอบคลุม ครบถ้วน ร้อยละ 100 2.รพสต./PCU มีการบันทึกข้อมูลรายงานวัยรุ่น การคุมกำเนิด อย่างครอบคลุม ถูกต้อง ร้อยละ 100 2.มีมาตรฐานการดำเนินงานวัยรุ่นระดับจังหวัด และมีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน TM ระดับจังหวัด /ระดับอำเภอ 2.1 จัดทำมาตรฐานการดำเนินงานวัยรุ่นระดับจังหวัด/ ระดับอำเภอ 2.2 แต่งตั้งคณะทำงาน TM ระดับจังหวัด/ระดับอำเภอ 1.คณะทำงาน TM ระดับอำเภอ ได้รับทราบนโยบายและแนวทางการดำเนินงานวัยรุ่น ปี 2560 2.มีข้อมูลวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่น และมีการกำหนดแผนปฏิบัติงาน คณะทำงาน TM ระดับจังหวัด/ระดับอำเภอ มีการแก้ไขปัญหาวัยรุ่นตามมาตรการฯและ ดำเนินงานตามแผนปฏิบัติงานที่กำหนด คณะทำงาน TM ระดับอำเภอ ได้รับการติดตามงาน โดยทีม TM ระดับโซน /ระดับจังหวัดร้อยละ 100 คณะทำงาน TM ระดับอำเภอ /ระดับจังหวัด มีการสรุปรายงานผลการดำเนินงานตามมาตรการฯ ร้อยละ 100

เป้าหมายการพัฒนางานวัยรุ่น ปี 2560 เป้าหมายการพัฒนางานวัยรุ่น ปี 2560 เป้าหมาย มาตรการ Essential task 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 3.กลุ่มวัยรุ่นหญิงอายุ15-19 ปี ได้รับบริการเฝ้าระวังป้องกันแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ 3.1 พัฒนาศักยภาพคลินิกวัยรุ่น และผู้รับผิดชอบงานคลินิกวัยรุ่นให้จัดบริการเชิงรับภายในคลินิกวัยรุ่นให้มีความน่าสนใจ และประชาสัมพันธ์ให้วัยรุ่นเข้าถึงบริการ 3.2 พัฒนาระบบบริการเชิงรุก โดยเพิ่มศักยภาพเจ้าหน้าที่ในการให้บริการในชุมชน เรื่องสุขภาพวัยรุ่น ความรู้การคุมกำเนิด 1.สถานบริการได้รับทราบนโยบายและแนวทางการดำเนินงานวัยรุ่น ปี 2560 2.มีข้อมูลวิเคราะห์รายงานอัตราคลอดมีชีพ และรายงานอัตราการตั้งครรภ์ซ้ำ ในวัยรุ่น 1.สถานบริการ มีการแก้ไขปัญหาตามแผนที่วางไว้ และมีผลการดำเนินงานตามแผน 2.สถานบริการ มีแผนการรณรงค์ /ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มวัยรุ่นเข้าถึงบริการ รพท/รพช./สสอ. ได้รับการติดตามการดำเนินงานคลินิกวัยรุ่น และการดำเนินงานอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ โดยทีมคณะทำงาน TM ระดับอำเภอ /ระดับจังหวัด ร้อยละ 100 4. ปัญหาการตั้งครรภ์ซ้ำ ได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายในการเฝ้าระวังปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่น ร่วมกับหน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่ 4.1 พัฒนาระบบการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานส่งเสริมและเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น /การตั้งครรภ์ซ้ำ 4.2 สร้างเครือข่ายครอบครัว การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นตั้งครรภ์ และเฝ้าระวังวัยรุ่นตั้งแต่ครอบครัว โรงเรียน ชุมชน 1.ภาคีเครือข่ายชุมชนร่วมจัดทำแนวทางการดำเนินงานป้องกันแก้ไขปัญหาตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 2.ภาคีเครือข่ายชุมชนปฏิบัติตามมาตรฐานการดำเนินงานระดับอำเภอ /ตำบล มีรายงานการประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานร่วมกันของสถานบริการ กับภาคีเครือข่าย และมีการวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงาน เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาในพื้นที่ร่วมกัน มีการติดตามการดำเนินงานของพื้นที่โดยทีมคณะทำงานTMระดับจังหวัด และระดับเขต มีการจัดส่งรายงานผลการดำเนินงาน รายงานแก้ไขปัญหาวัยรุ่นในพื้นที่ และมีการนำข้อมูลเสนอในเวทีชุมชน โดยจัดทำสรุปรายงานเพื่อคืนข้อมูลสถานการณ์วัยรุ่นของพื้นที่ให้กับทุกหน่วยงานในระดับอำเภอ

เป้าหมายการพัฒนางานวัยรุ่น ปี 2560 เป้าหมายการพัฒนางานวัยรุ่น ปี 2560 เป้าหมาย มาตรการ Essential task 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 5.มีระบบบริหารจัดการ การควบคุมกำกับติดตาม ที่มีประสิทธิภาพ 5.1 พัฒนาศักยภาพบุคลากร โดยเพิ่มทักษะการบันทึกและตรวจทานข้อมูลรายงานให้ถูกต้อง 5.2 เพิ่มความรู้และทักษะการให้บริการสุขภาพวัยรุ่น เช่น หลักสูตรให้คำปรึกษาวัยรุ่น 5.3 ควบคุมกำกับ โดยใช้ระบบฐานข้อมูล 43 ประชุม วิเคราะห์ วางแผน /โครงการ /ชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน แจ้งกำหนดระยะเวลา ติดตามผลงาน 1.เจ้าหน้าที่สาธารณสุขดำเนินการ -วิเคราะห์ปัญหา -จัดทำแผนปฏิบัติงาน -จัดทำรายงานข้อมูล 2.มีรายงานติดตามรอบที่ 1 1.เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ได้รับการติดตามการดำเนินงาน และได้รับ การสนับสนุน ให้คำปรึกษา โดยทีมคณะผู้นิเทศระดับจังหวัด ระดับเขต 2.มีรายงานติดตามรอบที่ 2 มีการสรุปผลการควบคุม กำกับติดตาม และสรุปรายงานผล การปฏิบัติงาน ระดับอำเภอ/ระดับจังหวัด