ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
ขั้นตอนการให้บริการ ด้านโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ ประชุมแนวทางการคัดกรองมะเร็งเต้านมและ มะเร็งปากมดลูกแบบมีส่วนร่วมโดยประชารัฐ วันที่ 9 พฤษภาคม 2560 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

สรุปถอดบทเรียน โครงการ PH _JAPAN อำเภอ สารภี สันกำแพง สันทราย ดอยสะเก็ด

กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม เจ้าหน้าที่.,ผู้นำชุมชน, ประชาชน และกลุ่มเป้าหมาย อบรมโครงการป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัดเชียงใหม่   - ประชาสัมพันธ์โครงการฯ และสร้างความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรมในพื้นที่ - ประชาสัมพันธ์รถบริการตรวจมะเร็งเคลื่อนที่ให้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย - กระตุ้นกลุ่มเป้าหมายให้เกิดความกระตือรือร้นในการเข้ารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเพิ่มมากขึ้น พยาบาลและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มความรู้ความเข้าใจเรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม - เพิ่มความรู้ความเข้าใจเรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม - เรียนรู้และฝึกปฏิบัติด้านการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและการตรวจมะเร็งเต้านม - ชี้แจงนโยบาย ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง และแนวทางการดำเนินงานด้านการป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม - รายการอุปกรณ์ทางการแพทย์ (13 รายการ) สนับสนุน รพช.

กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม   - รายการอุปกรณ์ทางการแพทย์ (12 รายการ) สนับสนุน รพ.สต. - รายการอุปกรณ์ทางการแพทย์ (1 รายการ) สนับสนุน สสอ. แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) ฝึกอบรมความรู้ความเข้าใจเรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม แก่ อสม. โดย พยาบาล และ จนท.ผู้รับผิดชอบงานจาก รพช. รพ.สต.ใน พื้นที่ และ จนท PH-JAPAN - เพิ่มศักยภาพความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม แก่ อสม. - นำความรู้ไปขยายสู่สตรีกลุ่มเป้าหมายในชุมชน กิจกรรมเนื่องในวันอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (วัน อสม.แห่งชาติ) - เดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์โครงการฯ โดย อสม. ผู้ร่วมงานและประชาชนทั่วไป - จัดนิทรรศการเผยแพร่ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม - กิจกรรมตอบปัญหาและเล่นเกมส์เกี่ยวกับความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเชี่ยวชาญ (อสม.เชี่ยวชาญ) ฝึกอบรมแกนนำ อสม. ให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม โดย พยาบาล และ จนท.ผู้รับผิดชอบงานจาก รพช. รพ.สต.ใน พื้นที่ และ จนท PH-JAPAN   - พัฒนาและส่งเสริมศักยภาพ อสม.ให้มีความเชี่ยวชาญมากขึ้นทั้งในเชิงความรู้เกี่ยวกับโรคและทักษะต่างๆ ที่สำคัญและเกี่ยวข้องกับการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม - อสม.สามารถนำความรู้และทักษะที่ได้จากการอบรมไปใช้ในการกระตุ้นส่งเสริมสตรีกลุ่มเป้าหมายให้เกิดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและเกิดความตระหนักในความสำคัญของการป้องกันและเข้ารับการตรวจคัดกรองอย่างสม่ำเสมอ - ส่งเสริมบทบาทของ อสม.ให้สามารถปฏิบัติงานในขอบเขตหน้าที่ของ อสม.ในกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้และตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแก่กลุ่มสตรีทั้งในและนอกสถานที่บริการร่วมกับทีมเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม   บทบาท อสม.เชี่ยวชาญ ในกิจกรรมรณรงค์ให้สุขศึกษาและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม - ให้สุขศึกษาเรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม แก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย - ซักประวัติและการบันทึกแบบฟอร์มก่อนเข้ารับการตรวจคัดกรองฯ - การสอนการตรวจด้วยตนเองและการตรวจเต้านมแก่สตรีผู้เข้ารับบริการ - ช่วยเจ้าหน้าที่จัดเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์การตรวจ pap smear

สตรีกลุ่มเป้าหมาย รณรงค์ให้สุขศึกษาและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ให้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย ในสถานบริการ และออกหน่วยเคลื่อนที่ในชุมชน และในสถานประกอบการ   - บริการเชิงรุกและเพิ่มการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารด้านการป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม และบริการตรวจคัดกรองสตรีกลุ่มเป้าหมาย จัดหาและมอบของที่ระลึกแก่สตรีที่เข้ารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม และประชาสัมพันธ์โครงการฯไปสู่สตรีกลุ่มเป้าหมายในชุชนให้เรับบริการมากขึ้น - กระเป๋าผ้ามีซิป (ใบ) โครงการป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็ง เต้านม ประชุมติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินโครงการ - รับทราบความก้าวหน้า ปัญหาอุปสรรคและวางแผนงานร่วมกับทีมบริการในพื้นที่ - รายงานความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานต่อผู้บริหารสาธารณสุขในพื้นที่โครงการฯ

1.สิ่งที่เป็นจุดแข็ง/จุดเด่นในการดำเนินงานโครงการ 1.1 ให้ความสำคัญ, สนับสนุนและอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ 1.2 บุคลากรและผู้ที่เกี่ยวข้อง ให้ความอนุเคราะห์ในด้านเอกสารและข้อมูลต่างๆ 1.3 บุคลากรด้านสาธารณสุขในพื้นที่ ผู้รับผิดชอบงานมะเร็งปากมดลูกและมะเร็ง เต้านม ให้ความช่วยเหลือด้วยความจริงใจในการดำเนินกิจกรรมต่างๆเป็นอย่างดี 1.4 มีการทำงานเป็นทีมที่เข้มแข็ง และมีการแบ่งงานกันอย่างชัดเจน 1.5 ทีมงานมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ สัมพันธภาพที่ดีเอื้อต่อการทำงานร่วมกันเป็นอย่างดี 1.6 บุคลากรและเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ มีความตั้งใจในการทำงานให้ความทุ่มเท และอุทิศตนอย่างเต็มที่ 1.7 มีศักยภาพและความรู้ความชำนาญในการปฏิบัติงานสูงอยู่ในทีมงาน

2. ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ 2.1 บุคลากรและเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องมีความรับผิดชอบภาระงาน ไม่สามารถเข้า ร่วมในการดำเนินกิจกรรม หรือเข้าร่วมกิจกรรมของโครงการอย่างต่อเนื่อง 2.2 มีโครงการด้านสาธารณสุขอื่นๆ หลายโครงการเข้ามาดำเนินงานในพื้นที่ ซึ่ง ผู้รับผิดชอบงานเป็นบุคลากรกลุ่มเดียวกัน 2.3 ขาดข้อมูลด้านการดำเนินงานป้องกัน/คัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็ง ปากมดลูกที่ชัดเจน 2.4 กลุ่มสตรีเป้าหมายที่เข้ามารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกยังต่ำกว่า เป้าหมายที่วางไว้ 2.5 นโยบายของรัฐบาล มีการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับกลุ่มเป้าหมายในการตรวจ คัดกรอง 2.6 ขาดความชัดเจนในการเก็บและรายงานข้อมูลของกลุ่มเป้าหมายที่ไปใช้บริการตรวจคัดกรองสถานบริการอื่น(Coverage)

2.7 บุคลากรและเจ้าหน้าที่ในการให้บริการไม่เพียงพอ โดยเฉพาะวันที่มีการ รณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม 2.8 วันรณรงค์ของบางตำบล ตรงกับวันคลินิกของตำบลที่อยู่ในโซนเดียวกัน 2.9 ความยากในการจูงใจผู้ที่ไม่เคยตรวจ หรือผู้รับการตรวจรายใหม่ 2.10 ระบบการจัดเก็บ การลงข้อมูล และรายงานข้อมูล มีความยุ่งยากและ ซับซ้อนและความน่าเชื่อถือของข้อมูล ทั้งในส่วนผลงานของหน่วยบริการ ( Activity) และสถานบริการอื่น(Coverage) ยังไม่ชัดเจน 2.11 ลักษณะชุมชนหมู่บ้านจัดสรร ความร่วมมือจากกลุ่มเป้าหมายในชุมชน มีน้อย 2.12 กลยุทธ์ในการดำเนินงานยังไม่จูงใจกลุ่มกลุ่มเป้าหมายที่เป็นโสด 2.13 อัตรากำลังเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอ

3. แนวทางในการแก้ปัญหาเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไป ตามเป้าหมายของโครงการฯ 3.1 ควรมีการกำหนดแนวทางในการเก็บและรายงานข้อมูลเป็นภาพรวมของอำเภอ 3.2 กำหนดวิธีการและเก็บข้อมูลจำนวนสตรีที่ไปรับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จาก สถานบริการอื่น(Coverage)ให้เป็นข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ 3.3 ใช้กลยุทธ์ขายตรงหรือหาลูกทีมโดยให้ อสม. ชักชวนสตรีกลุ่มเป้าหมายให้เข้ามารับ บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เช่น มีรางวัลเพื่อเป็นแรงจูงใจ แก่ อสม. อำเภอละ 10 รางวัล(10คน) ให้ค่าตอบแทนผู้แนะนำ, ลงประชุม ประชาสัมพันธ์ในหมู่บ้าน 3.4 จับรางวัลหางบัตรสตรีที่เข้ามารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม อำเภอละ 15 รางวัล รวม 30 รางวัล(30 คน) 3.5 เพิ่มจำนวนครั้งในการบริการเชิงรุกในชุมชนห่างไกล และสถานประกอบการโรงงานให้ ครบทุกแห่ง หรือให้มากขึ้น 3.6 จัดทำทะเบียนกลุ่มเป้หมายและผลการตรวจย้อนหลัง 5 ปี ในส่วนผลงานของ หน่วยงาน (Activity)

3.7 สรุปผลงานและผลการตรวจเป็นรายงวด 3.8 เน้นความครอบคลุมของการตรวจในกลุ่มเจ้าหน้าที่ และ อสม. ในกลุ่มคู่สมรสของ อสม.ชาย 3.9 ลงพื้นที่ให้ความรู้/จูงใจกลุ่มเป้าหมายกลุ่มย่อยในชุมชน/โรงงานและจัดให้บริการใน วันหยุด (ในบางพื้นที่) และจ่ายค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ โดยการ เห็นชอบและอนุมัติจากผู้บริหาร 3.10 ให้บริการในระดับหมู่บ้าน/ขอสนับสนุนรถโมบายจากองค์การพีเอช-เจแปน 3.11 ใช้กลยุทธ์ เพื่อนรักเพื่อน ชวนเพื่อนต้านมะเร็ง โดยการจัดหาของรางวัลจูงใจ 3.12 แนวทางการเก็บและรายงานข้อมูลผู้ที่ไปรับการตรวจจากสถานบริการอื่น โดยมี ขั้นตอนจัดทำทะเบียนรายชื่อกลุ่มเป้าหมายหญิงอายุ 30 – 60 ปี คัดกลุ่มที่ไปรับการ ตรวจที่ รพช. หรือ สอ.อื่นออก ทำทะเบียนรายชื่อกลุ่มที่เหลือมอบให้ อสม. นำ รายชื่อไปสำรวจเพิ่มและส่งจดหมายเชิญเข้ารับการตรวจฯ

4. กลยุทธ์และกิจกรรมการดำเนินโครงการ 4.1 การตกแต่งดัดแปลงรถ Mini-bus ให้เป็นรถบริการตรวจสุขภาพเคลื่อนที่ เพื่อเพิ่มการ เข้าถึงบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมของกลุ่มเป้าหมาย นอกเหนือจากการรณรงค์ประจำปีของสถานบริการสุขภาพ 4.2 การแนะนำโครงการแก่ผู้บริหารสาธารณสุข, เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และผู้นำชุมชนทั้ง ที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ เพื่อประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการตระหนักใน ความสำคัญของการป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม, วัตถุประสงค์โครงการ และแผนการดำเนินงานโครงการ 4.3 สร้างสรรค์และผลิตสื่อความรู้เกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม และจัดหาอุปกรณ์ การแพทย์ที่จำเป็นในการตรวจคัดกรองแจกจ่ายแก่ รพ.สต.แล ะรพช. 4.4 จัดอบรมความรู้และทักษะในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (Pap smear) และการ ตรวจเต้านม หลักสูตร 2 วัน พร้อมทั้งจัดทำเสื้อยืดแจกจ่าย ให้แก่พยาบาลหรือ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขผู้รับผิดชอบงานจาก รพ.สต.แล ะรพช. ทุกคนที่เข้าอบรม

ปีที่ 1 อบรมพยาบาลหรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. (หมู่ละ 4 คน) อ ปีที่ 1 อบรมพยาบาลหรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม.(หมู่ละ 4 คน) อ.สารภี สันกำแพง ปีที่ 2 อบรมพยาบาลหรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม.(หมู่ละ 4 คน) อ.สันทราย ดสก. ปีที่ 3 อบรมพยาบาลหรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. (หมู่ละ 4 คน) อ.หางดง สันป่าตอง 4.5 จัดหน่วยบริการเคลื่อนที่แก่หญิงกลุ่มเป้าหมาย โดยประกอบด้วยกิจกรรม ดังต่อไปนี้ 4.5.1 การให้ความรู้เกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม และการป้องกัน 4.5.2 บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (Pap smear), ตรวจเต้านม สอนและ สาธิต การตรวจเต้านมด้วยตนเอง 4.5.3 การจับสลากให้รางวัลแก่กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับบริการ หมายเหตุ : หน่วยบริการเคลื่อนที่สามารถให้บริการที่สถานีอนามัย หรือให้บริการแก่ กลุ่มเป้าหมายในสถานที่ อื่นๆ เช่น โรงงานหรือพื้นที่ห่างไกลอื่นๆ 4.6 จัดอบรม อสม.เชี่ยวชาญด้านมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม อำเภอละ 15 คน 4.8 ร่วมจัดกิจกรรมเผยแพร่ความรู้ในการป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เนื่องในโอกาส วัน อสม.แห่งชาติในเดือนมีนาคมของทุกปี 4.9 จัดตั้งชมรมสุขภาพเพื่อนหญิงประจำอำเภอ อำเภอละ 1 ชมรม

4.10 จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการในหัวข้อ “You are what you eat และวิถีการดำเนินชีวิต ให้ปลอดภัยจากโรคมะเร็ง” สำหรับกลุ่ม อสม., สมาชิกชมรมสุขภาพเพื่อนหญิง และ ผู้ป่วยโรคมะเร็ง โดยมีกิจกรรมดังต่อไปนี้ 4.10.1 การสาธิตการปรุงอาหารสุขภาพ และป้องกันโรคมะเร็ง โดยนักโภชนาการหรือ ผู้เชี่ยวชาญด้านโภชนาการ 4.10.2 จัดเลี้ยงอาหารเมนูสุขภาพแก่ผู้ร่วมกิจกรรม 4.10.3 การใช้ความรู้และสุขศึกษาเกี่ยวกับการป้องกันตนเองจากโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม 4.11 เยี่ยมติดตาม และร่วมประชุมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ดำเนินการ ติดตาม เยี่ยมผู้ป่วยที่โรงพยาบาล พร้อมทั้งติดตามแผนการรักษาจากแพทย์ และเยี่ยมบ้าน ผู้ป่วยพร้อมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและหรือ อสม. 4.12 จัดประชุมประเมินผลการดำเนินงานระยะ 6 เดือน 4.13 จัดประชุมประเมินผลการดำเนินการโครงการระยะ 1 ปี

5. ผู้ได้รับประโยชน์จากการดำเนินโครงการ 5.1 หญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 30 – 60 ปี อย่างน้อย 62,552 ราย จาก ทั้งหมด 125,100 ราย ใน 6 อำเภอของจังหวัดเชียงใหม่ 5.2 อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จำนวน 2,648 คน จาก 662 หมู่บ้าน 5.3 เจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือพยาบาล จำนวน 87 คน จากโรงพยาบาล ชุมชน และสถานีอนามัยใน 6 อำเภอ  

6. กลยุทธ์หลักในการดำเนินงาน 6.1 ใช้กลยุทธ์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชุมชน ผ่านกิจกรรมโครงการ เพื่อส่งเสริมความรู้ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระยะยาวในกลุ่มเป้าหมาย (การใช้ข้อมูลเชิงคุณภาพ เกี่ยวกับปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ได้จากการจัดการสนทนา กลุ่มของโครงการป้องกันมะเร็งปากมดลูกในพื้นที่ของโครงการเดิม เพื่อใช้เป็นแนวทาง ในการสร้างสรรค์สื่อความรู้ และการจัดกิจกรรมที่มีประสิทธิภาพ ที่บุคลากร สาธารณสุข และ อสม. สามารถนำไปปฏิบัติได้) 6.2 กลยุทธ์ในการเน้นความรู้และความสามารถของ อสม. และบุคลากรสาธารณสุขในพื้นที่ 6.3 การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน และการร่วมเป็นเจ้าของโครงการ 6.4 การส่งต่อการดำเนินงานให้แก่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเมื่อสิ้นสุดโครงการ

7. การติดตามและการประเมินผล 7.1 รายงานการติดตามประจำเดือนจากเจ้าหน้าที่องค์การ พีเอช-เจแปน ประเทศไทย 7.2 ทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 7.3 บันทึกการให้สุขศึกษา 7.4 เวชระเบียนผู้ป่วย 7.5 รายงานการประชุมของโครงการ

8. Key Partners and collaborators PHJT จะร่วมปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในการดำเนินโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ กับหน่วยงาน ดังต่อไปนี้ 8.1 สสจ.ชม. : ที่ปรึกษาในการพัฒนาสื่อสารสอนของโครงการ และ เป็นผู้ประสานงานระหว่างองค์การ และผู้บริหารสาธารณสุขในพื้นที่ 8.2 สสอ.สารภี, สันกำแพง, สันทราย, ดอยสะเก็ด, หางดง และสันป่าตอง : ที่ปรึกษาและผู้ประสานงานกับบุคลากรสาธารณสุขใน รพ.สต. ในการส่งเจ้า จนท.เข้ารับการอบรม และการร่วมในกิจกรรมรณรงค์ป้องกันและคัดกรอง มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม 8.3 รพช.อำเภอสารภี สันกำแพง สันทราย ดอยสะเก็ด หางดง และสันป่าตอง : ที่ ปรึกษาในการพัฒนาสื่อการสอน การส่ง จนท.เข้ารับการอบรม การร่วมใน กิจกรรมรณรงค์ป้องกันและคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม 8.4 โรงพยาบาลนครพิงค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และศูนย์มะเร็งลำปาง : ที่ปรึกษาด้านเทคนิค และการส่งวิทยากรให้ความรู้ในการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่

ประชุมวางแผนกำหนด กลวิธี/การเตรียมอุปกรณ์/ นำเสนอผู้บริหาร ฝึกทักษะ/ความรู้/เทคนิคใน จนท., อสม.เชี่ยวชาญ/ระบบข้อมูล สำรวจกลุ่มเป้าหมายที่มีใน พื้นที่จริง ติดตามผลการดำเนินงาน ทุกเดือน สรุปผลการ ดำเนินการทุก 6 เดือน รณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูก/เต้า นมแบบแบ่งโซน/เวียน จนท. ช่วยกัน/นอกเวลา/ออกโมบาย เคลื่อนที่ ติดตามกลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่มาตรวจปัญหา/ อุปสรรค/กลุ่มที่ตรวจที่อื่น/นัดวันตรวจใหม่ ติดตามผลการตรวจ/ส่งต่อผิดปกติ/ติดตาม เยี่ยมบ้านผู้ป่วยมะเร็ง ชมรมเพื่อนหญิง จัดกิจกรรม “You are what you eat” และวิธีการดำเนินชีวิตให้ปลอดภัยจากโรคมะเร็ง 1. ค่าตอบแทนในการค้นหาของ อสม. 2. ค่าตอบแทนนอกเวลา/อาหารกลางวัน/อาหารว่าง/เสื้อทีม 3. อุปกรณ์การตรวจโมเดลเต้านมแผ่นพับ/สื่อการสอน/ไวนิล 4.ของที่ระลึกแก่เป้าหมาย 5. อุปกรณ์ในชมรม เช่น กระทะไฟฟ้า, เบาะโยคะ 6. เงินสนับสนุนกิจกรรมในชมรม 7. สนับสนุนรถโมบาย