แบบทดสอบความรู้การช่วยกู้ชีพทารกแรกเกิด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Neonatal Resuscitation
Advertisements

ชนิดของ Carbon ในสารประกอบอินทรีย์
ระนาบอ้างอิงและวิวช่วย (Reference Plane and Auxiliary View)
การช่วยกู้ชีพทารกแรกเกิด
แนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิต
1 คณะที่ 5 การตรวจราชการแบบบูรณา การ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี
ส่วนผสมการตลาดและประโยชน์ที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการ สนามฟุตบอลในเวลากลางคืนและความพอใจของผู้ใช้บริการใน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เสนอ โดยกลุ่มที่ 3.
(Phranakhon Rajabhat University). คู่มือการใช้งานโปรแกรม WORDPRESS.
การจัดการศึกษาในโรงเรียนท้องถิ่น (การจัดการศึกษาในระบบโรงเรียน)
ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา
การช่วยกู้ชีพทารก neonatal cardiopulmonary resuscitation
โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis).
อาจารย์ รุจิพรรณ แฝงจันดา
โรคกระดูกพรุน.
สถิติในชีวิตประจำวัน : Statistics in Everyday life
การดำเนินงานService Plan จ.กำแพงเพชร ปี 2561
การสร้างเครื่องมือในการวิจัย (Instrument)
Tableau Installation.
การวิเคราะห์ซอฟต์แวร์
R & R Studio Program Installation.
โครงสร้างโลก.
ภาพรวมของ รพ.ส่งเสริมสุขภาพ ศอ5
หมวด ๔ : การจัดการระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
หน่วยการเรียนที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน.
การเสริมสร้างศักยภาพเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียนที่จังหวัดสระแก้ว กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ.
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
การเลี้ยงไก่ไข่.
EASY CLEAR รวดเร็ว ฉับไว ใส่ใจ เรื่องเงิน
ผู้ดำเนินการวิจัย นางสาว นิลุบล สุวลักษณ์ รหัสนักศึกษา
เกณฑ์คะแนน รพ.สต.ติดดาว ปี2561
แนวทางการจัดทำรายงาน
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
คอนกรีต QMIX Super Flow
SGS : Secondary Grading System
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
รายงานการประเมินตนเอง
การดูแลและแนวทางการส่งต่อ-ส่งกลับผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
กิจกรรมที่7 บทบาทของโลหะทองแดงในปฏิกิริยา
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการดำเนินงานให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม.
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
นางบุญชอบ เกษโกวิท ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กับแผนการจัดการเรียนรู้
โครงสร้างข้อมูล( Data Structure)
การประเมินสารสนเทศ และแหล่งสารสนเทศ
สถานการณ์โรคเรื้อรัง
บทที่ 8 ตัวแบบมาร์คอฟ.
การเก็บรวบรวมข้อมูล.
นโยบาย การป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
แนะนำหนังสือใหม่ พฤศจิกายน 2560
นวัตกรรมกลุ่มงานวิสัญญี ปี 2562 E Mobile
ปัญหา อุปสรรคและแนวโน้มการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เชิงกลยุทธ์
การดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
โดย อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
ณ ห้องประชุมกองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน สามเสน กรุงเทพมหานคร
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.
บทที่ 7 การเก็บรวบรวมข้อมูล
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2558
Introduction to Public Administration Research Method
อ.พรพนา ปัญญาสุข วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย
การจัดการงานคลังและงบประมาณ ครั้งที่ 5 อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ )
โปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิ กองทัพเรือ
การจัดการงานคลังและงบประมาณ อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แบบทดสอบความรู้การช่วยกู้ชีพทารกแรกเกิด 1. จำนวนทารกแรกเกิดที่ต้องการการช่วยกู้ชีพมีประมาณ ก. 1% ข. 10% ค. 20% ง. 25% 2. ขั้นตอนเบื้องต้นในการช่วยกู้ชีพทารกแรกเกิด ( Initial Steps in Resuscitation ) ก. ให้ความอบอุ่น เช็ดตัวให้แห้ง กระตุ้นหายใจ จัดท่าศีรษะใหม่ ข. ให้ความอบอุ่น กระตุ้นหายใจ เช็ดตัวให้แห้ง จัดท่าศีรษะใหม่ เปิดทางเดิน หายใจให้โล่ง ค. ให้ความอบอุ่น จัดท่าศีรษะ เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง เช็ดตัวให้แห้ง กระตุ้นให้หายใจและจัดท่าศีรษะใหม่ ง. ให้ความอบอุ่น จัดท่าศีรษะ กระตุ้นให้หายใจ เช็ดตัวให้แห้ง

3. รูปใดแสดงวิธีการจัดท่าของศีรษะของทารกที่ถูกต้อง ก่อนที่จะทำการดูดสารคัดหลั่งจากหลอดลมคอ ก. ข. ค.

4. การดูดสารคัดหลั่งในจมูกและปากมีกฎที่ต้องทำคือ ก. ให้ดูดสารคัดหลั่งในปากก่อนในจมูกเสมอ ข. ให้ดูดสารคัดหลั่งในจมูกก่อนในปาก ค. ดูดในปากหรือจมูกก่อนก็ได้ ง. ดูดพร้อมๆกัน 5. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการกระตุ้นทารกโดยการสัมผัส ก. เขย่าตัวแรงๆ ข. ตบที่หลังหรือตบที่ฝ่าเท้า ค. ดีดที่ฝ่าเท้าหรือลูบหลัง ง. การเขย่าตัวและตบหลัง

6. ข้อใดผิด ก. การหยุดหายใจขั้นปฐมภูมิ จะมีอัตราการเต้นของหัวใจที่ช้าลง ซึ่งจะดีขึ้นเมื่อได้รับการ กระตุ้นโดยการสัมผัส ข. ลักษณะของการหยุดหายใจขั้นทุติยภูมิ คือ อัตราการเต้นของหัวใจจะช้าลง แต่ความดัน โลหิตจะยังคงเดิม ค. การหยุดหายใจขั้นทุติยภูมิ ไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยการสัมผัสแต่ต้องแก้ไขด้วยการช่วย หายใจ ง. การหยุดหายใจขั้นปฐมภูมิ อัตราการเต้นของหัวใจจะเริ่มลดลง แต่ความดันโลหิตยังคง ปกติ 7. ข้อใดถูกต้อง ก. ถ้าทารกมีการหยุดหายใจแบบทุติยภูมิ(Secondary apnea) การกระตุ้นเพียงอย่างเดียว ไม่สามารถทำให้กระตุ้นการหายใจได้ ข. ทารกที่มีการหยุดหายใจแบบทุติยภูมิ(Secondary apnea) ควรได้รับการช่วยหายใจด้วย แรงดันบวก ค. การหยุดหายใจแบบปฐมภูมิ ( Primary apnea) จะตอบสนองต่อการกระตุ้นหายใจด้วย การสัมผัส ง. ถูกทุกข้อ

ก. ให้ออกซิเจน free flow และกระตุ้น 8. หลังได้รับการกระตุ้นการหายใจทารกหายใจเองได้และอัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 100ครั้ง/นาที แต่ยังคงเขียว การช่วยเหลือขั้นต่อไปคือ ก. ให้ออกซิเจน free flow และกระตุ้น ข. ให้การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก ค. กระตุ้นให้หายใจด้วยการสัมผัสต่อ ง. ข้อ ข., ค. ถูก 9. เมื่อประเมินครั้งแรกพบว่าทารกไม่หายใจ หลังจากการกระตุ้นให้หายใจด้วยสัมผัสแล้ว และอัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 100 ครั้ง/นาที ควรให้การช่วยเหลือขั้นต่อไปอย่างไร ก. กระตุ้นการหายใจต่อ ข. ให้การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกร่วมกับการกดหน้าอก ค. ให้การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก ง. ให้ออกซิเจน Free flow

ก. ให้การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกต่อทันที 10. อัตราการช่วยหายใจระหว่างการช่วยกู้ชีพทารก คือ 40-60 ครั้ง/นาที เพื่อให้ได้อัตรา ดังกล่าว ใช้วิธีนับคือ ก. บีบ.....สอง.....สาม.....สี่.....บีบ ข. สอง....บีบ......สาม.....บีบ ค. บีบ......สอง....สาม.....บีบ ง. บีบ......สาม....สอง.....บีบ 11. เมื่อให้การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกแล้ว 30 วินาที อัตราการเต้นของหัวใจเท่ากับ 80 ครั้ง/นาที ท่านควรปฏิบัติอย่างไร ก. ให้การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกต่อทันที ข. ให้การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกและการกดหน้าอก ค. ตรวจสอบเทคนิคการปฏิบัติและอุปกรณ์ก่อน ง. ถูกทุกข้อ

12. การตัดสินใจช่วยกู้ชีพทารกในแต่ละขั้นตอนขึ้นอยู่กับ ก. การหายใจความดันโลหิต และ ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ ข. การหายใจ อัตราการเต้นของหัวใจ และความดันโลหิต ค. การหายใจ อัตราการเต้นของหัวใจ สีผิว ง. อัตราการเต้นของหัวใจ และความดันโลหิต สีผิว 13. เมื่อจะตัดสินใจว่าทารกควรได้รับการดูดขี้เทาในหลอดลม คำว่า Vigorous ให้ดูจาก อาการใดของทารกบ้าง ก. การหายใจดี ขยับแขนขาดี สีผิวดี ข. การหายใจดี ขยับแขนขาได้ อัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 100 ครั้ง/นาที ค. การหายใจดี อัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 100 ครั้ง/นาที ความดันโลหิตดี ง. อัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 100 ครั้ง/นาที สีผิวดี ความดันโลหิตดี

ค. การใส่ท่อช่วยหายใจและการกดหน้าอก ง. การกดหน้าอกและการให้ยา 14. ข้อใดผิด ก. ทารกแรกเกิดไม่มีขี้เทาปนในน้ำคร่ำและที่ผิวหนังหายใจได้ดี ขยับแขนขาได้ดี ไม่ควรได้รับการกู้ชีพ ข. ทารกแรกเกิดที่มีขี้เทาปนในน้ำคร่ำและร้องไม่ดัง (non vigorous) ควรได้รับการ ใส่ท่อช่วยหายใจเพื่อดูดขี้เทาในหลอดลม ค. ทารกแรกเกิดที่มีขี้เทาปนในน้ำคร่ำ ทั้ง Vigorous และ non vigorous ควรได้รับ การใส่ท่อช่วยหายใจดูดขี้เทาในหลอดลม ง. ทารกแรกเกิดที่มีขี้เทาปนในน้ำคร่ำ และหายใจได้ดี ขยับแขนขาดี อัตราการเต้น ของหัวใจมากกว่า 120 ครั้ง/นาที ควรได้รับการดูแลตามปกติ 15. ขั้นตอนที่สำคัญและมีประสิทธิภาพมากที่สุดในการช่วยกู้ชีพทารกแรกเกิดคือ ก. การกระตุ้นให้หายใจ ข. การช่วยหายใจ ค. การใส่ท่อช่วยหายใจและการกดหน้าอก ง. การกดหน้าอกและการให้ยา

ง. ดีขึ้นช้าบ้างเร็วบ้าง 16. การช่วยให้ทารกหายใจได้อย่างเพียงพอ อัตราการเต้นของหัวใจทารกจะเป็นอย่างไร ก. ดีขึ้นอย่างรวดเร็ว ข. ค่อยๆดีขึ้น ค. ดีขึ้นช้าๆ ง. ดีขึ้นช้าบ้างเร็วบ้าง 17. ถ้าท่านใช้ Self- inflating bagในการช่วยหายใจ แต่ทารกยังมีอัตราการเต้นของหัวใจ สีผิว ความตึงตัวของกล้ามเนื้อไม่ดีขึ้นและทรวงอกไม่เคลื่อนขึ้น สาเหตุที่เป็นไปได้คือ ก. หน้ากากไม่แนบสนิทกับหน้าทารก ข. ทางเดินหายใจของทารกไม่โล่ง และใช้ความแรงในการบีบ Bag น้อยเกินไป ค. ใช้ความแรงในการบีบ bag น้อยเกินไป ง. ถูกทุกข้อ

18. ถ้าท่านต้องการช่วยใจผ่านหน้ากากเป็นเวลาหลายนาที ท่านควรใส่สายสวนกระเพาะ อาหารทางปากของทารกเพื่อระบายลม จากรูปท่านควรใส่ยาวเท่าไร ก. 12 cms ข. 21 cms ค. 22 cms ง. 31 cms

20. ความลึกที่ถูกต้องของการกดหน้าอกคือ 19. ทารกแรกเกิดหยุดหายใจและเขียวซึ่งทารกยังคงไม่หายใจเมื่อได้รับการช่วยหายใจด้วย แรงดันบวกแล้ว 30 วินาที ที่ 60 วินาที อัตราการเต้นของหัวใจ เท่ากับ 40 ครั้ง/นาที ควรให้การช่วยเหลืออย่างไร ก. กดหน้าอกร่วมกับการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกต่อ ข. กดหน้าอก และให้ยา ค. ช่วยหายใจ และให้ยา ง. ใส่ท่อช่วยหายใจและให้ยา 20. ความลึกที่ถูกต้องของการกดหน้าอกคือ ก. 1 ใน 2 ของความกว้างจากซ้ายไปขวาของหน้าอก ข. 1 ใน 3 ของความลึกจากหน้าไปหลังของหน้าอก ค. 1 ใน 2 ของความลึกจากหน้าไปหลังของหน้าอก ง. 1 ใน 3 ของความกว้างจากซ้ายไปขวาของหน้าอก

21. วิธีใดที่ใช้ในการกำหนดจังหวะและทำให้การกดหน้าอกสัมพันธ์กับการช่วยหายใจ ก. หนึ่ง- และ-สอง-และ-สาม-และ-บีบ-และ ข. บีบ-สอง-สาม-บีบ-สอง-สาม ค. หนึ่ง-และ-สอง-และ-บีบ-และ-หนึ่ง ง. หนึ่ง- และ-สอง-และ-สาม-และ-สี่-และ-บีบ 22. ทารกที่น้ำหนัก 1,500 กรัม ขนาดของท่อช่วยหายใจที่เหมาะสมคือ ก. 2.0 ข. 2.5 ค. 3.0 ง. 3.5

23. ความเข้มข้น 1:1,0000 ของยา epinephrine ขนาดที่เหมาะสมสำหรับ ทารกแรกเกิดคือ ก. บริหารยาทางหลอดเลือดดำ 0.1-0.3 มล./กก. บริหารยาทางท่อช่วยหายใจ 0.3-1 มล./กก. ข. บริหารยาทางหลอดเลือดดำ 0.3-1 มล./กก. บริหารยาทางท่อช่วยหายใจ 0.1-0.3 มล./กก. ค. บริหารยาทางหลอดเลือดดำ 0.1-1 มล./กก. บริหารยาทางท่อช่วยหายใจ 1-3 มล./กก. ง. บริหารยาทางหลอดเลือดดำ 1-3 มล./กก.

24. เด็กน้ำหนัก 2,000 gms. ตำแหน่งที่เหมาะสมของท่อช่วยหายใจควรลึก ก. 6 ซม. ข. 7 ซม. ค. 8 ซม. ง. 9 ซม. 25. การตรวจสอบว่าท่อช่วยหายใจอยู่ถูกตำแหน่ง ก. ถ้าท่อช่วยหายใจอยู่ในหลอดลม ทารกควรมีสัญญาณชีพดีขึ้น ข. ฟังปอดได้ยินเสียงลมเข้าเท่ากันทั้ง 2 ข้าง ค. เมื่อช่วยหายใจเห็นการเคลื่อนขึ้นของทรวงอกและท้องไม่อืดและใหญ่ขึ้น ง. ถูกทุกข้อ