10 กันยายน 2557 โรงแรมริชมอนด์ อ.เมือง จ.นนทบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

สิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กับการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
การเป็น วิทยากรกระบวนการ
ผู้วิจัย สิริภิญญ์ อินทรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ ปีการศึกษา 2556
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
กิจกรรมแนะแนวการศึกษาและ อาชีพ ม.5 โปรแกรมการพัฒนาการตระหนักรู้และ ความสามารถในการตัดสินใจเลือก อาชีพและศึกษาต่อ คุณครูสุนันท์ ปรารมย์
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
ชุมชนปลอดภัย.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
การเยี่ยมตรวจคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แนวทางการจัดทำรายงาน
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
โดย ผศ.ดร.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
Legal Culture วัฒนธรรมทางกฎหมาย
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ศาสนาเชน Jainism.
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

10 กันยายน 2557 โรงแรมริชมอนด์ อ.เมือง จ.นนทบุรี หลักสูตรการฝึกอบรม “การเสริมสร้างทัศนคติในการทำงาน ด้านการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์” 10 กันยายน 2557 โรงแรมริชมอนด์ อ.เมือง จ.นนทบุรี

หลักสูตรการฝึกอบรม “การเสริมสร้างทัศนคติในการทำงาน ด้านการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์” วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างความเข้าใจและความตระหนักแก่บุคลากรด้านสาธารณสุข ที่ทำหน้าที่ให้บริการด้านการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ที่มีต่อ 4 กลุ่ม คือ กลุ่มพนักงานบริการหญิง กลุ่มชายรักชาย กลุ่มผู้ใช้ยาเสพย์ติดชนิดฉีด และกลุ่มแรงงานต่างชาติ โดยคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และการได้รับบริการที่เป็นมิตร

กำหนดการ วันที่ 1  09.00 – 12.00 การสร้างความเข้าใจถึงคุณลักษณะทางด้านสังคม-จิตวิทยาของผู้ป่วยในกลุ่มเสี่ยงสูง (ส่วนที่ 1 = 3 ชม. 2 กิจกรรม) 13.00 – 16.00 การมองตนเองและโลกผ่านพลังชีวิตและภูเขาน้ำแข็งของบุคคล (ส่วนที่ 2.1 = 3 ชม. 4 กิจกรรม ) 16.00 – 16.30 กิจกรรมการสะท้อนการอบรมและประเมินผล วันที่ 2  09.00 – 12.00 การพัฒนาคุณค่าตนเอง (ส่วนที่ 2.2 = 3 ชม. 5 กิจกรรม ) 13.00 – 16.00 การประยุกต์เรื่องการพัฒนาตนเองกับการทำงานด้วยความเอื้ออาทรฉันมิตร (Friendly) (ส่วนที่ 2.3 = 3 ชม. 4 กิจกรรม ) 1. การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรง และการทบทวนประสบการณ์ 2. บรรยาย 3. ฝึกปฏิบัติ เพื่อนำทฤษฎีไปประยุกต์ใช้ 4. อภิปรายกลุ่ม

ส่วนที่ 1 คุณลักษณะทางด้านสังคม-จิตวิทยา ของผู้ป่วยในกลุ่มเสี่ยงสูง (MARPs) จัดแบ่งออกเป็น 2 กิจกรรม ใช้เวลา 3 ชั่วโมง ประกอบด้วย กิจกรรม 1 สะท้อนมุมมองต่อผู้ป่วยในกลุ่มเสี่ยงสูง ใช้วิธีการจัดฐานการเรียนรู้ 4 ฐาน (ได้แก่ กลุ่มพนักงานบริการหญิง กลุ่มชายรักชาย กลุ่มผู้ใช้ยาเสพย์ติดชนิดฉีด และกลุ่มแรงงานต่างชาติ) ใช้เวลา 2 ชั่วโมง - ฐานที่ 1 ผู้ใช้ยาชนิดฉีด “ใครคือผู้ใช้ยา” วาดรูป นำอภิปราย “ผู้ใช้ยาต้องเป็นแบบไหน” ปัจจัยที่ต้องพิจารณาว่ามีความสัมพันธ์กับผู้ใช้ยาหรือไม่ ปัจจัยดังกล่าว ได้แก่ เพศ อาชีพ สถานภาพ ศาสนา อายุ การศึกษา ฐานะ สีผิว “ท่านรู้สึกอย่างไรต่อผู้ใช้ยา” “คนทั่วไปรู้สึกอย่างไรต่อผู้ใช้ยา” - ฐานที่ 2 แรงงานข้ามชาติ ตั้งคำถาม “แรงงานข้ามชาติที่ท่านรู้จักเป็นอย่างไร/ มีปัญหาอย่างไร” คิด “ท่านคิดว่าการมีแรงงานข้ามชาติเข้ามาอยู่ในประเทศไทย มีข้อดี ข้อเสีย อย่างไร” แบ่งกลุ่มผู้เข้าอบรมเป็น 2 กลุ่ม ตั้งคำถาม กลุ่มที่ 1 คนไทยมีโอกาสเป็นโรคอะไรได้บ้าง กลุ่มที 2 แรงงานข้ามชาติมีโอกาสเป็นโรคอะไรได้บ้าง ฐานที่ 3 พนักงานบริการ และ ฐานที่ 4 ชายรักชาย คุณลักษณะทางสังคม-จิตวิทยาของแต่ละกลุ่ม การศึกษาภูมิหลัง และกรอบของสังคม ความรู้สึกไวต่อการแสดงออกทั้งทางกาย วาจา เพศวิถี รสนิยมทางเพศ ความคาดหวังของสังคมที่มีต่อกลุ่มเป้าหมายและความคาดหวังของกลุ่มเป้าหมายที่มีต่อสังคม มีวิทยากรกระบวนการที่มีประสบการณ์ทำงานกับผู้ป่วยกลุ่มนั้น ๆ ประจำอยู่ในแต่ละฐาน ให้ผู้เข้าอบรมเขียนคำตอบใส่บัตรคำ แสดงความคิดเห็น บัตรคำสีที่ 1 ตอบคำถาม ท่านคิดอย่างไร บัตรคำสีที่ 2 ตอบคำถาม ท่านคิดว่าคนทั่วไปคิดอย่างไร ทบทวนความคิด ควรเป็นคำถามปลายเปิด แลกเปลี่ยนกันในกลุ่ม และพยายามให้ได้คำตอบจากกลุ่ม ตัวอย่างคำถาม เช่น รู้สึกเห็นใจ “อะไรทำให้รู้สึกเห็นใจ” ส่งผลอย่างไรต่อการทำงานของเรา มีความยากลำบากในการทำงานอย่างไร

ส่วนที่ 1 (ต่อ) กิจกรรม 2 เสวนาแลกเปลี่ยน “เรื่องชีวิตคนในกลุ่มที่ถูกชี้ว่าเสี่ยงสูง (MARPs)” ใช้เวลา 1 ชั่วโมง จุดมุ่งหมาย เพื่อทำให้เกิดความเข้าใจ และตระหนักรู้มากขึ้นเกี่ยวกับคุณลักษณะทางด้านสังคม-จิตวิทยาของผู้รับบริการที่ถูกระบุว่าเป็น “ผู้ที่มีความเสี่ยงสูงในการติดและแพร่เชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์” โดยรับฟังเรื่องราวชีวิตและความรู้สึกของบุคคล โดยตรง (เชิญตัวแทนกลุ่มเป้าหมายทั้ง 4 กลุ่ม เล่าประสบการณ์ คนละ 10 นาที โดยมีผู้ดำเนินการเสวนา ในประเด็น ท่านคิดอย่างไรต่อการที่ถูกเรียกว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการติด/แพร่เชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์/เอดส์ ประสบการณ์ที่ไม่ประทับใจจากการเข้ารับบริการ ท่านพบอะไร รู้สึกอย่างไร (พูดแทนกลุ่ม) ประสบการณ์ที่ดีจากการได้สัมผัสกับบุคลากรทางด้านสาธารณสุขที่ประทับใจ บริการที่คาดหวัง (ในฝัน) ความคาดหวังต่อการรับบริการจากภาครัฐ (ที่อาจเกิดจากปัจจัย ภูมิหลัง และประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจริง) ภาพสะท้อนมุมมองและโลกทัศน์ของแต่ละกลุ่มเสี่ยง รวมทั้งความคาดหวังที่บุคคลเหล่านี้มีต่อการใช้บริการด้านสุขภาพเฉพาะจากบุคลากรภาครัฐ

ส่วนที่ 2 การเรียนรู้ตนเองและโลกรอบตัว เพื่อการเจริญเติบโตและเปลี่ยนแปลงพัฒนา แบ่งออกเป็น 3 หัวข้อๆละ 3 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น 9 ชั่วโมง 2.1 การมองตนเองและโลก ผ่านแนวคิดเรื่องพลังชีวิต (Life Energy) 2.2 การพัฒนาคุณค่าแห่งตนเอง 2.3 การประยุกต์การพัฒนาตนเองกับการทำงานให้บริการด้วยความเอื้ออาทรฉันมิตร มุ่งหวังให้ผู้เข้ารับการอบรมได้เรียนรู้และมีความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ การสำรวจตนเอง เป้าหมายของชีวิต อุปสรรคที่ขวางกั้นการดำเนินชีวิตคนเราอย่างมีดุลยภาพ หนทางแห่งการป้องกันความไม่สมดุลของชีวิตและการสลายละลายภูเขาน้ำแข็งที่เป็นอุปสรรคต่อการเติบโตและเปลี่ยนแปลงพัฒนา ผู้เข้ารับการอบรม (ผู้ให้บริการด้านสุขภาพ) จะเกิดการพัฒนาศักยภาพและความสามารถในการเข้าใจตนเองและผู้อื่น (รวมถึงผู้รับบริการที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสูง) ได้ ซึ่งจะวิถีทางที่นำไปสู่ “การทำงานให้บริการด้วยความเอื้ออาทรฉันมิตร” ได้ในที่สุด

2.1 การมองตนเองและโลกผ่านแนวคิดเรื่องพลังชีวิต (3 ชั่วโมง) 2.1 การมองตนเองและโลกผ่านแนวคิดเรื่องพลังชีวิต (3 ชั่วโมง) ในหัวข้อนี้ประกอบด้วย 4 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมที่ 3 สถานการณ์ที่เป็นปัญหา/ อุปสรรคของการทํางาน (60 นาที) 1. โครงสร้าง นโยบายของหน่วยงาน/ องค์กร 2. ผู้ใช้บริการ ซึ่งมีความคาดหวังจากการได้รับบริการที่แตกต่างกัน 3. ผู้ให้บริการ ซึ่งมีความคาดหวัง ทัศนคติ ที่มีต่อหน่วยงาน ระบบงาน ตลอดจนผู้มารับบริการที่แตกต่างกัน นอกจากนั้นยังมีชีวิตส่วนตัวที่มีอิทธิพลต่อการทํางาน บทสรุป : ความทุกข์ของการทำงานของเราอยู่ที่ตัวเราเองที่จะปรับตัว ( Coping) เป็นสิ่งที่สำคัญ ชีวิตจะผาสุกหรือไม่ขึ้นอยู่กับสิ่งนี้ กิจกรรมที่ 4 สายน้ำแห่งรัก (60 นาที) “มนุษย์ใช้อารมณ์เป็นตัวผลักดันให้เกิดการกระทํา” กิจกรรมที่ 5 จุดสว่างของฉัน (30 นาที) ทุกคนมีส่วนที่ดี(พลังชีวิต)ของตนเอง นํามาซึ่งความสุข ความภาคภูมิใจสู่ตนเอง และส่งผลดีต่อผู้อื่นได้ ทําให้มีความสุขในการอยู่ร่วมกัน กิจกรรมที่ 6 จุดมืดของฉัน (30 นาที) สํารวจตนเองถึงส่วนที่ไม่ดี / ข้อบกพร่องเพื่อทบทวนอย่างใคร่ครวญ การได้ทบทวนถึงจุดบกพร่องที่ผ่านมาอาจป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นอีกในอนาคต “(กฎ 6 ข้อ) ข้อที่ 5 มนุษย์ต้องการปกปิดสิ่งที่ไม่ดีของตนเอง และจะรู้สึกเจ็บปวดเมื่อมีใครพูดถึงสิ่งนั้น” ธรรมชาติของมนุษย์ มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีธรรมชาติ กฎข้อที่ 1 คือ มนุษย์ทุกคนมีพลังชีวิต (Life Energy) กฎข้อที่ 2 มนุษย์ทุกคนจะรู้สึกดี ภาคภูมิใจ และมีความสุข เมื่อมีผู้อื่นรับรู้สิ่งที่เราทํา กฎข้อที่ 3 มนุษย์ทุกคนจะรู้สึกดีเป็นพิเศษกับบุคคลที่มีลักษณะเหมือน หรือคล้ายกับตนเอง ดังนั้นจึงเกิดมีมิตรแท้ หรือ เพื่อนสนิท ได้ กฎข้อที่ 4 มนุษย์ทุกคนล้วนมีมุมมืด ข้อด้อย หรือข้อเสีย ไม่มีใครที่ไม่มีข้อเสีย เพียงแต่อาจมองไม่เห็น กฎข้อที่ 5 มนุษย์ต้องการปกปิ ดสิ่งที่ไม่ดีของตนเอง และจะรู้สึกเจ็บปวดเมื่อมีใครพูดถึงสิ่งนั้น มนุษยทั่วไปไม่ชอบถูกตำหนิติเตียน กฎข้อที่ 6 มนุษย์ทุกคน จะรู้สึกไม่ชอบ ไม่พอใจ โกรธ และเกลียดบุคคลที่แตกต่างไปจากเรา จุดยืนแห่งชีวิต (Life Position) ในทฤษฏี TA

คํากล่าว : ท่านพุทธทาสภิกขุ "เขามีส่วนเลวบ้าง ช่างหัวเขา จงเลือกเอา ส่วนที่ดีเขามีอยู่ เป็นประโยชน์ โลกบ้าง ยังน่าดู ส่วนที่ชั่ว อย่าไปรู้ของเขาเลย จะหาคน มีดีโดยส่วนเดียว อย่ามัวเที่ยว ค้นหา สหายเอ๋ย เหมือนเที่ยวหา หนวดเต่า ตายเปล่าเลย ฝึกให้เคย มองแต่ดี มีคุณจริง"

2.2 การพัฒนาคุณค่าแห่งตน (3 ชั่วโมง) ประกอบด้วย 5 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมที่ 7 บุคลิกภาพของมนุษย์: ทฤษฎีภูเขาน้ำแข็ง (50 นาที) กิจกรรมที่ 8 กระดานหก : ประสบการณ์ในใจคนเรา (15 นาที) กิจกรรมที่ 9 เป้าหมายชีวิต (15 นาที) ชมคลิปวีดีโอ เรื่อง GOAL กิจกรรมที่ 10 การเจริญเติบโตและพัฒนา : ความคิดเชิงบวก (50 นาที) กิจกรรมที่ 11 สุขใจที่ทําได้และได้ทํา (50 นาที) กรณีของผู้คนในวีดิทัศน์ 4 เรื่อง (1) ไม่มีขีดจํากัด (2.45 นาที) (2) หมอศิลปะอาสา (3 นาที) (3) จักษุแพทย์อาสา (3 นาที) (4) อาสาสมัครโรงพยาบาล (3 นาที) ก.7 ภูเขาน้ำแข็ง ใช้ ทบ.ของซาเทียร์ จปส.เพื่อให้เกิดความรู้และความเข้าใจในบุคลิกภาพของตนเอง จากทฤษฎี“ภูเขาน้ำแข็งของบุคคล” 2. สามารถสํารวจ/วิเคราะห์และเข้าใจตนเองและผู้อื่น ก.10 มี จปส. เพื่อวัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเข้าใจกลไกในการสร้างความคิดเชิงบวก 2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเรียนรู้วิธีการปรับความคิดต่อสิ่งต่าง ๆ ให้เป็น “บวก” เพื่อจะสามารถนำไปใชพ้ฒนาตนเองสู่ความสำเร็จในการปฏิบัติงาน และการดำเนินชีวิต

2.3 การประยุกต์การพัฒนาตนเองกับการทำงานให้บริการด้วยความเอื้อ อาทรฉันมิตร (3 ชั่วโมง) หัวข้อนี้ ประกอบด้วย 4 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมที่ 12 วงจรชีวิต (10 นาที) วีดิทัศน์เรื่อง “ชีวิต” (Live) 1 นาที เรียนรู้อะไรจากเรื่องนี้ เชื่อมโยงคำตอบกับเรื่อง “ความฝัน” และ “เป้าหมาย” กิจกรรมที่ 13 วาดฝัน-ปันสุข : ชีวิต (40 นาที) วาดรูปอะไรก็ได้ที่สะท้อน “ความใฝ่ฝันในชีวิต” ของแต่ละบุคคล เลือกบุคคลที่ประทับใจที่สุด กิจกรรมที่ 14 วาดฝัน-ปันสุข : การทํางาน (60 นาที) วาดรูปอะไรก็ได้ที่สะท้อน “ความใฝ่ฝันในชีวิตการทำงานบริการด้านสาธารณสุขแก่ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงสูง ที่เมื่อเกิดขึ้นแล้วทั้งตัวเราและผู้รับบริการต่างเกิดสุข” แลกเปลี่ยน ถึงความใฝ่ฝันในชีวิตการทำงานบริการ ฯ หลอมรวมภาพ “ความใฝ่ฝัน ฯ” ให้เป็นภาพเดียวกันของกลุ่ม พร้อม คำอธิบายสั้น ๆ แล้วนำเสนอ กิจกรรมที่ 15 พบฝัน-พบสุข : การทํางาน (60 นาที) ร่วมกันคิดถึงแนวทางหรือแผนที่จะทำให้ความฝัน/เป้าหมายของกิจกรรมที่ 13 (แต่ละเรื่อง) เป็นจริงขึ้นมาได้ เตรียมนำเสนอผลกิจกรรมที่ 14+15 ต่อที่ประชุม วิทยากร สรุป คนเราทุกคนล้วนมีเป้าหมาย เป้าหมายอาจแบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ เป้าหมายกลางทาง และเป้าหมายที่แท้จริง ในเชิงสุขภาพจิต มนุษย์อยู่ได้ถึงแม้ว่าเป้าหมายกลางทางจะล้มเหลว ก็เพราะเรามีเป้าหมายแท้จริงอยู่ที่ปลายทาง (Ultimate goal) ซึ่งเป้าหมายปลายทางที่มนุษย์ทุกคนต้องการเหมือนกันหมดเป็นสากล ได้แก่ ความรัก อิสรภาพ การยอมรับ ความปลอดภัย และ เพื่อน มนุษย์ทุกคนย่อมมีความใฝ่ฝัน การที่ความฝันหรือเป้าหมายของคนเราจะบรรลุความสำเร็จได้ จะต้องมีการกระทำหรือ พฤติกรรม เกิดขึ้น การกำหนดแนวทางหรือแผนการทำงานจึงเป็นสิ่งที่มีความสำคัญ ดังนั้นเราควรจะต้องมีแนวทางหรือแผนการทำงานเพื่อทำให้เป้าหมายนั้นเป็นจริงขึ้นมา

กิจกรรมการสะท้อนการอบรม (10 นาที) AAR วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้สะท้อนความคิดเห็นต่อกระบวนการอบรม พร้อมให้ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงพัฒนาต่อไป การประเมินผล การประเมินผล จาก 2 วิธีการ คือ 1. การตอบแบบประเมินความพึงพอใจในความรู้ ความเข้าใจ และความรู้สึกว่า ตนเองเกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับทัศนคติต่อกลุ่มเป้าหมายที่ดีขึ้น 2. การสังเกตถึงความสนใจ ตั้งใจ และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมของผู้เข้ารับการอบรม โดยผู้สังเกตการณ์กิจกรรมฝึกอบรม (ผู้จัดอบรม/ ทีมวิทยากร/ ผู้ได้รับมอบหมายโดยตรง)  

เนื้อหาการบรรยาย ความเชื่อที่ใช้ในการบำบัดแบบแซทเทียร์* (Satir’s Therapeutic Beliefs) วิธีมองโลก* (Ways of Perceiving the World) เป้าหมายหลัก 4 ข้อ ของ Satir Model Therapy * (Four Meta Goals of The Satir Model) ความเชื่อและการให้คุณค่าของการบำบัดแบบสั้น *(The Value Orientation of Brief Therapy) ภูเขาน้ำแข็งของบุคคล *(Personal Iceberg)ประสบการณ์ภายในจิตใจของมนุษย์(The Human Intrapsychic Experience) พฤติกรรมการปรับตัวเพื่อให้มีชีวิตอยู่รอด*(Survival Coping Stance) การใช้ Stances ในการเข้าถึงผู้ป่วย *(Using Stances to Make Contact) การเปลี่ยนแปลงความคาดหวังในการบำบัด* (Changing Unmet Expectation in Therapy) ระยะของการเปลี่ยนแปลงตามแนวคิดแบบซาเทียร์* (Stages of Change) มี 7 ระยะ *เอกสารประกอบการฝึกอบรม Satir’s Systemic Brief Therapy (หน้า17), แปลและเรียบเรียงโดย สุจิตรา อุตสาหะ บรรณาธิการ นงพงา ลิ้มสุวรรณ และ ณรงค์ สุภัทรพันธุ์ (เอกสารอัดสำเนา) Satir Model พูดถึงความคาดหวัง 3 แบบ ความคาดหวังที่มีต่อตัวเอง ความคาดหวังที่มีกับคนอื่นๆ ความคาดหวังของคนอื่นที่มีต่อเรา

สรุป หลักสูตรการฝึกอบรม “การเสริมสร้างทัศนคติในการทำงาน ด้านการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์” มุ่งเน้นการปรับเปลี่ยน การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ภายในตัวตน คนทำงาน โดยใช้แนวคิดของ Satir Model Therapy ภาพรวมใช้กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จับคู่ แบ่งกลุ่มย่อย ระดมสมอง วาดภาพ ชมวีดีทัศน์ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น สะท้อนความรู้สึก “สรุปภาพรวม เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง พัฒนาและเติบโตจากตัวตนภายใน” ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก (15 กิจกรรม) + AAR

เอกสารอ้างอิง/ สื่อ ประกอบการอบรม ”คู่มือ การให้การปรึกษาเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม” (น. 11 – 17), พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2551 หัวข้อเนื้อหา ได้แก่ “การให้คําติชม” , “ความเชื่อที่ใช้ในการบําบัดแบบแซทเทียร์” , “วิธีมองโลก” , “เป้าหมายหลัก 4 ข้อของการบําบัดแบบแซทเทียร์” , “ความเชื่อและการให้คุณค่าของการบําบัดแบบสั้น” , “ภูเขาน้ำแข็งของบุคคล” , “พฤติกรรมการปรับตัวเพื่อให้มีชีวิตรอด” , “การใช้ Stances ในการเข้าถึงผู้ป่วย” , “การเปลี่ยนแปลงความคาดหวังในจิตบําบัด” , “ระยะของการเปลี่ยนแปลงตามแนวคิดแบบ แซทเทียร์” อ้างอิงมาจาก John Banmen and Kathlyne Maki- Banmen, เอกสารประกอบการฝึกอบรม Satir’s Systemic Brief Therapy แปลและเรียบเรียงโดย สุจิตรา อุตสาหะ บรรณาธิการ นงพงา ลิ้มสุวรรณ และ ณรงค์ สุภัทรพันธุ์ (เอกสารอัดสําเนา) คลิปวีดีโอ เรื่อง GOAL วีดีทัศน์เรื่อง “หมอศิลปะอาสา” สารคดีดอกไม้บาน ศูนย์ส่งเสริมพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม วีดิทัศน์เรื่อง “ไม่มีขีดจํากัด” นิค วูจิซิค (Nick Vujicic) วีดิทัศน์เรื่อง “จักษุแพทย์อาสา. สารคดีดอกไม้บาน ศูนย์ส่งเสริมพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม วีดิทัศน์เรื่อง “อาสาสมัครโรงพยาบาล” สารคดีดอกไม้บาน ศูนย์ส่งเสริมพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม วีดิทัศน์เรื่อง “ชีวิต” (Live)