แนวคิดทาง รัฐประศาสนศาสตร์
ยุคก่อน WW II ยุคหลัง WW II ถึง 1970 ยุค 1970 ถึง ปัจจุบัน
วิวัฒนาการการศึกษา รปศ. ในโลกตะวันตก ค.ศ. 1887-1950 สมัยทฤษฎีดั้งเดิม ยุคคลาสสิค การบริหารแยกออกจากการเมือง / ระบบราชการ /วิทยาศาสตร์การจัดการ / หลักการบริหาร ยุคการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ การบริหาร คือ การเมือง / ระบบราชการแบบไม่เป็นทางการ / มนุษยสัมพันธ์ / ศาสตร์การบริหาร ค.ศ. 1950-1970 สมัยทฤษฎีท้าทาย หรือวิกฤติการณ์ด้านอัตลักษณ์ครั้งแรก ค.ศ. 1960-1970 สมัยวิกฤติการณ์ด้านอัตลักษณ์ครั้งที่ 2 ยุคการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์ แนวความคิดทางพฤติกรรมศาสตร์ / รปศ.ในความหมายใหม่ ค.ศ. 1970-ปัจจุบัน สมัยทฤษฎีและแนวการศึกษา รปศ.สมัยใหม่ ยุคการบริหารสมัยใหม่ นโยบายสาธารณะ / ทางเลือกสาธารณะ / เศรษฐศาสตร์การเมืองความสัมพันธ์ระหว่างองค์การ / การออกแบบองค์การสมัยใหม่
นักคิด / นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดการการเมืองแยกจากการบริหาร Woodrow Wilson - การบริหารแยกจากการเมืองเด็ดขาด - สามารถสร้างหลักการบริหารที่ดี ที่นำไปใช้กับทุกรัฐบาลได้ (one rule of good administration for all government alike) - ประเทศเจริญก้าวหน้า จะมีระบบราชการที่มีประสิทธิภาพและมีเหตุผล Frank Goodnow - หน้าที่ทางการเมืองแยกจากหน้าที่ทางการบริหารได้ - การเมืองไม่ควรเข้ามาแทรกแซงการบริหาร Leonard D. White
นักคิด / นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดการจัดการทางวิทยาศาสตร์(Scientific Management) Frederick Taylor เสนอ “หลักการจัดการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)” ประกอบไปด้วย - ค้นหาหลักการทำงานที่เป็นวิทยาศาสตร์ ที่ได้ จากการทดลองหาวิธีที่ดีที่สุด (one best way) - การคัดเลือกคนทำงานตามกฎเกณฑ์วิทยาศาสตร์ - การพัฒนาคนทำงานตามหลักวิทยาศาสตร์ - ให้ความสำคัญต่อการสร้างความร่วมมือในการ ทำงาน (friendly cooperation) ระหว่าง นายจ้างกับลูกจ้าง
นักคิด / นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดหลักการบริหาร Gulick & Urwick - การประสานงานโดยกลไกการควบคุมภายใน - การจัดโครงสร้างภายในองค์การ - หน้าที่ของฝ่ายบริหาร : POSDCORB - การประสานงานของหน่วยงานย่อย - การประสานงานโดยการผูกมัดทางใจ Mary Parker Follet - การมองความขัดแย้งในแง่ดี - การออกคำสั่งอย่างมีศิลปะ - เรื่องขององค์กรเป็นความรับผิดชอบของทุกฝ่าย - หลักการประสานงาน Mooney & Reiley - หลักการประสานงาน - หลักลำดับขั้นการบังคับบัญชา - หลักการแบ่งงานตามหน้าที่ - หลักความสัมพันธ์ระหว่าง Line & Staff
นักคิด / นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดการบริหารคือการเมือง Avery Leiserson - การบริหารงานของภาครัฐอยู่ท่ามกลางสภาพแวดล้อมของกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ Paul Henson Appleby - การบริหารงานของรัฐ แท้จริงเป็นเรื่องของการเมือง - นักบริหารภาครัฐจะต้องเกี่ยวข้องกับการเมือง - ให้กลุ่มต่างๆ เข้ามาแข่งขันในการกำหนดนโยบายสาธารณะ (Administrative Pluralism) - นักบริหารภาครัฐจะต้องมีจรรยาบรรณ (Administrative Platonism) Norton E. Long - การบริหาร คือ การเมือง
นักคิด / นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดระบบราชการแบบไม่เป็นทางการ Robert Merton การยึดกฎระเบียบราชการ -- > ไร้ประสิทธิภาพ การยึดถือกฎระเบียบทําให้พฤติกรรมของข้าราชการขาดความยืดหยุ่น การที่ระบบราชการพยายามเน้นให้ข้าราชการอยู่ในกรอบของกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด ทําให้ข้าราชการเผลอหรือจงใจยึดถือกฎระเบียบว่าเป็นเป้าหมายขององค์การ การทํางานราชการกลับไปให้ความสําคัญต่อกฎระเบียบที่เป็นทางการ แทนที่จะให้ความสําคัญต่อการให้บริการที่ดีต่อลูกค้าที่มารับบริการ ผลคือ ระบบราชการทั้งหมดเสื่อมลงไร้ประสิทธิภาพ Alvin N. Gouldner บทบาทขององค์การไม่เป็นทางการ - ศึกษากระบวนการทําให้เป็นระบบราชการ(bureaucratization)ในโรงงานผลิตยิปซัม - ความสัมพันธ์ส่วนตัวและรูปแบบองค์การแบบไม่เป็นทางการที่ปรากฏซ่อนอยู่ในโครงสร้างทางการนั้นมีความสําคัญมากในการที่เราจะเข้าใจเรื่องกลไกการทํางานขององค์การต่าง ๆ ในทางปฏิบัติ Robert Michels ผู้นำมีแนวโน้มที่จะสร้างกลไกที่จะรักษาอํานาจและความยิ่งใหญ่ของตน - องค์การหันเป็นทิศทางที่บ่ายเบี่ยงจากเป้าหมายเดิมขององค์การ(goal displacement)กระบวนการที่เป้าหมายขององค์การบ่ายเบี่ยงไปจากการสถาปนาระบบประชาธิปไตยในตอนแรกไปสู่ระบบการปกครองแบบเผด็จการในตอนหลังนี้ Michels เรียกว่า " Iron Law of the Oligarchy" Phillip Selznick grass-roots democracy + Cooptation บริหารแบบประชาธิปไตยชาวบ้าน (grass-roots democracy) คือ เน้นให้คนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการบริหารงานหน่วยงานของรัฐ + "สร้างศัตรูให้เป็นมิตร" (Cooptation) คือ การดึงเอาฝ่ายต่อต้านการเปลี่ยนแปลงหรือกลุ่มอนุรักษ์นิยมเข้ามาเป็นผู้นําเสียเองในการควบคุมการทํางานของหน่วยงานเป็นวิธีที่จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพัฒนาได้
นักคิด / นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดศาสตร์การบริหาร The Functions of the Executives(1938) - องค์การเกิดจากความจำเป็นที่คนมารวมกลุ่มกัน - จะต้องมีการจัดระบบความร่วมมือการทำงานในองค์การ - การดำรงอยู่ขององค์การ ขึ้นกับความสำเร็จ - ความอยู่รอดขององค์กร ขึ้นกับความสามารถของฝ่ายบริหาร(Executives) ในฐานะผู้นําองค์การที่จะสร้างระบบความร่วมมือที่ดี - ฝ่ายบริหารจะต้องตัองตัดสินใจด้วยความรับผิดชอบภายในกรอบศีลธรรม Chester I. Barnard - ต้องการพัฒนาและวางรากฐานของทฤษฎีทาง รปศ. โดยเริ่มต้นจากแนวความคิด การตัดสินใจ - มีความคิดสอดคล้องกับ Chester I. Barnard เช่น มนุษย์ที่มีชีวิตจิตใจไม่ใช่หุ่นยนต์ ไม่ใช้คนเศรษฐกิจเท่านั้น ความสำคัญของความสัมพันธ์ระหว่างหัวหน้าและลูกน้อง - เสนอแนวทางพัฒนาทฤษฎีการบริหาร เช่น แนวคิดเรื่องการตัดสินใจของผู้บริหาร นำมาซึ่งประสิทธิภาพสูงสุดภายใต้ข้อจำกัดต่าง ๆในการตัดสินใจ สนับสนุนหาเครื่องมือ หรือ ตัววัด ความสำเร็จขององค์การ - เห็นว่าแนวคิดหลักการบริหาร มีความขัดแย้งกัน หลักการตัดสินใจแบบมีเหตุผล - หัวใจสำคัญที่สุดของการบริหาร คือ การตัดสินใจ - นักบริหารบางครั้งไม่สามารถตัดสินใจอยู่บนความมีเหตุผลสูงสุด (maximize) ได้ แต่จะต้องตัดสินใจอยู่บนข้อจำกัด ทำให้การตัดสินใจจะต้องอยู่บนเกณฑ์ความพอใจ (satisficing) Herbert A. Simon
- คนงานไม่ใช่มองเรื่องเงินอย่างเดียว - ความสัมพันธ์ในกลุ่ม นักคิด / นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการภายในกลุ่ม Elton Mayo ได้จากการศึกษาที่เรียกว่า Hawthorne Study ซึ่งมีข้อสรุปของการศึกษา ดังนี้ - ปัจจัยทางสังคม - คนงานไม่ใช่มองเรื่องเงินอย่างเดียว - ความสัมพันธ์ในกลุ่ม - ผู้นำกลุ่มอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ
นักคิด / นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดการจูงใจและความพอใจในงาน Abraham A. Maslow Hierarchy of Needs Theory การยึดถือกฎระเบียบทําให้พฤติกรรมของข้าราชการขาดความยืดหยุ่น การที่ระบบราชการพยายามเน้นให้ข้าราชการอยู่ในกรอบของกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด ทําให้ข้าราชการเผลอหรือจงใจยึดถือกฎระเบียบว่าเป็นเป้าหมายขององค์การ การทํางานราชการกลับไปให้ความสําคัญต่อกฎระเบียบที่เป็นทางการ แทนที่จะให้ความสําคัญต่อการให้บริการที่ดีต่อลูกค้าที่มารับบริการ ผลคือ ระบบราชการทั้งหมดเสื่อมลงไร้ประสิทธิภาพ Frederick Herzberg Motivator-Hygiene Theory - ศึกษากระบวนการทําให้เป็นระบบราชการ(bureaucratization)ในโรงงานผลิตยิปซัม - ความสัมพันธ์ส่วนตัวและรูปแบบองค์การแบบไม่เป็นทางการที่ปรากฏซ่อนอยู่ในโครงสร้างทางการนั้นมีความสําคัญมากในการที่เราจะเข้าใจเรื่องกลไกการทํางานขององค์การต่าง ๆ ในทางปฏิบัติ Douglas McGregor Theory X and Theory Y - องค์การหันเป็นทิศทางที่บ่ายเบี่ยงจากเป้าหมายเดิมขององค์การ(goal displacement)กระบวนการที่เป้าหมายขององค์การบ่ายเบี่ยงไปจากการสถาปนาระบบประชาธิปไตยในตอนแรกไปสู่ระบบการปกครองแบบเผด็จการในตอนหลังนี้ Michels เรียกว่า " Iron Law of the Oligarchy" Chris Argyris โครงสร้างองค์กรแบบระบบราชการ เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาของคน เสนอให้มีการส่งเสริมประชาธิปไตยในองค์กร
John Rehfuss Allen Schick นักคิด / นักวิชาการที่สนับสนุน รัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่ การประชุมที่ Minnowbrook - Dwight Waldo: PA in Time of Turbulence - Frank Marini: Toward a New PA ความเชื่อ 3 ประการ 1) การบริหารภาครัฐจำเป็นต้องยึดถือหลักความยุติธรรมในสังคม (social equity) 2) องค์การจะต้องให้ความสำคัญต่อประชาชน และจะต้องให้ประชาชนประเมินผลองค์การด้วย 3) นักบริหารยุคใหม่จะต้องเป็น Proactive Administrator John Rehfuss หลัก 4 ประการของรัฐประศาสนศาสตร์ 1) จะต้องศึกษาปัญหาในโลกความเป็นจริง 2) จะต้องใช้ค่านิยมช่วยเหลือผู้เสียเปรียบในสังคม 3) จะต้องสนับสนุนความยุติธรรมทางสังคมให้เกิดขึ้น 4) จะต้องสนับสนุนให้องค์การมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพื่อป้องกันมิให้กลุ่มใดผูกขาดอำนาจ Allen Schick
นักคิด / นักวิชาการที่ทำการศึกษา แนวคิดนโยบายสาธารณะ ตัวแบบผู้นำ (Elite Model) ตัวแบบกลุ่ม (Group Model) ตัวแบบสถาบัน (Institutional Model) ตัวแบบระบบ (System Model) ตัวแบบกระบวนการ (Process Model) – กำหนดปัญหา เสนอแนะทางเลือกนโยบาย เลือกนโยบาย นำนโยบายไปปฏิบัติ และประเมินผลนโยบาย ตัวแบบเหตุผล (Rational Model) ตัวแบบค่อยเป็นค่อยไป (Incremental Model) ตัวแบบการกำหนดนโยบายสาธารณะ Thomas R Dye 1) Van Meter & Van Horn ปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จของการนำนโยบายไปปฏิบัติประกอบด้วย มาตรฐาน ทรัพยากร การสื่อสาร การบังคับใช้ สมรรถนะของหน่วยงาน การเมือง สภาพเศรษฐกิจและสังคม ความจริงจังของผู้ปฏิบัติ 2) Nakamura & Smallwood เห็นว่าในแต่ละขั้นตอนของนโยบายสาธารณะ จะประกอบไปด้วย สภาพแวดล้อม เวทีการแสดงออก และผู้แสดง ตัวแบบการนำนโยบายไปปฏิบัติ
นักคิด / นักวิชาการที่ทำการศึกษา แนวคิดทางเลือกสาธารณะ(Public Choice) Vincent Ostrom - ทฤษฎีการบริหารแบบประชาธิปไตย (Democratic Administration) - การนำแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์การเมืองมาใช้ - การนำเอาปรัชญาการบริหารแบบประชาธิปไตย - ใช้ทฤษฎี Positive Constitutional Law ที่ให้รัฐธรรมนูญกำหนดขอบเขตและอำนาจการปกครองของผู้ปกครองประเทศ
นักคิด / นักวิชาการที่ศึกษา ทฤษฎีระบบ Simon & March - องค์กรเป็นที่รวมของระบบย่อยซึ่งทำหน้าที่ผลิตปัจจัยนำออกเพื่อป้อนออกไปสู่สภาพแวดล้อม - ระบบปิด ระบบเปิด Katz and Kahn - เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมกำหนดโครงสร้างองค์การ James D. Thompson
นักคิด / นักวิชาการที่ศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์เปรียบเทียบ Ferrel Heady - การวิเคราะห์ระบบราชการภายใต้การปกครอง Fred W Riggs - รูปแบบ Prismatic-Sala Weberian Model - ศึกษาระบบราชการตามแนวคิดของ Max Weber ศึกษาการทำหน้าที่ของระบบราชการ 3 ประการ คือ หน้าที่รักษาและปรับระบบ หน้าที่ออกกฎระเบียบ แสวงหาทรัพยากรและจัดสรร ทรัพยากร และหน้าที่ในการแปรปัจจัยนำเข้าให้ออกมาเป็นปัจจัยนำออก Almond Powell Model การบริหารการพัฒนา (Development Administration)