(Import and export packaging) บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Import and export packaging)
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก ปัจจัยในการพิจารณาบรรจุภัณฑ์เพื่อเพื่อโลจิสติกส์และการส่งออก ต้องสอดคล้องกับกฎระเบียบและระบบการตลาดของประเทศผู้นำเข้าสินค้าเพื่อการส่งออก โดยมีรายละเอียดต่อไปนี้
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก ในระบบการขนส่งและกระจายสินค้าไปยังผู้บริโภคนั้นก็จะประสบกับเหตุการณ์ต่างๆที่อาจเกิดขึ้นจากวิธีการต่างๆที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายเก็บรักษาและขนส่งสินค้ารวมถึงสภาวะแวดล้อมต่างๆที่มากระทบในระหว่างการเดินทางของสินค้าจากต้นทางถึงปลายทางในระบบการขนส่งนั้นการป้องกันความเสียหายนั้นสามารถทำได้โดยพิจารณาปัจจัยต่างๆที่มากระทบกับสินค้าแล้วทำให้สินค้าเกิดความนั้นการป้องกันความเสียหายนั้นสามารถทำได้โดยพิจารณาปัจจัยต่างๆที่มากระทบกับสินค้าแล้วทำให้สินค้าเกิดความ 7.1 ปัจจัยพิจารณาการบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก คุณสมบัติของกายภาพของสินค้า เช่น สินค้าที่สถานะเป็นของแข็ง ของเหลว ก๊าซ มีลักษณะเป็นเม็ด เกล็ด ผล แท่ง เป็นต้น คุณสมบัติของกายภาพของสินค้า เช่น สินค้าที่สถานะเป็นของแข็ง ของเหลว ก๊าซ มีลักษณะเป็นเม็ด เกล็ด ผล แท่ง เป็นต้น
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก สินค้าถูกทำให้เสียหายได้อย่างไรบ้าง เช่น การชนหรือกระแทก การสั่นหรือเขย่าการบดขยี้ การเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศ การขัดสีการถูกแสง การสัมผัสกับก๊าซชนิดต่างๆวางปนกับสินค้าบางประเภทไม่ได้ หรือถูกแมลงหรือสัตว์แทะกินได้ง่าย เป็นต้น
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก วิธีการขนส่งและเส้นทางการขนส่งที่จะใช้จะมีขั้นตอนต่างๆ เช่น การขนส่งขึ้นหรือลง การเคลื่อนย้าย การเก็บรักษา และ สภาพอากาศแวดล้อมอย่างไร และจะมีเหตุการณ์อะไรที่จะทำให้สินค้าเสียหายได้บ้าง ลักษณะความเสียหายจากเหตุการณ์ต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับสินค้า เช่น
การลาก การทิ่ม การแทง การบิดให้เสียรูป การกระแทก การถูกชน การสั่น บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก การลาก การกระแทก การถูกชน การทิ่ม การแทง การสั่น การแกว่ง การบิดให้เสียรูป การกดทับ และการเกี่ยว
ความเสียหายจากสภาพอากาศแวดล้อม ซึ่งเป็นผลจาก บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก การเปลี่ยนแปลงความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศ การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ การสัมผัสกับน้ำ และไอน้ำ ความเสียหายจากสภาพอากาศแวดล้อม ซึ่งเป็นผลจาก
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก ปัจจัยด้านการผลิตสินค้า ต้องคำนึงถึงเรื่องต่อไปนี้ 1) การปิดภาชนะบรรจุ มีวิธีปิดอย่างไร 2) การบรรจุ ต้องมีภาชนะบรรจุมีความเหมาะสมด้านขนาด และรูปทรงกับระบบการบรรจุหรือไม่ 3) การเสริมความแข็งแรงของภาชนะบรรจุใน ระหว่างการผลิต
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก ปัจจัยด้านความสะดวกในการใช้งานของผู้บริโภค ควรคำนึงถึงเรื่องต่อไปนี้ 1) ภาชนะบรรจุจำเป็นต้องเปิด หรือปิดบ่อยหรือไม่ 2) เมื่อสินค้าส่งถึงที่แล้วภาชนะบรรจุนำ กลับมาใช้งานใหม่ได้หรือไม่
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก วิธีป้องกันความเสียหายแก่สินค้าระหว่างการขนส่ง เช่น ทำเครื่องหมายแสดงวิธีการวางสินค้าที่ถูกต้อง ห้าม ไม่ให้ใช้ตะขอ อย่าตากฝน อย่าวางของหนักทับ
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก ความเสียหายที่เกิดขึ้นในการกระจาย สินค้า (Distribution Hazards) เนื่องจากความเสียหาย หลายประการไม่สามารถคาดการณ์ได้ล่วงหน้า เช่น ความเสียหายจากอุบัติเหตุ บรรจุภัณฑ์เพื่อการ ขนส่ง จึงเป็นไปเพื่อคุ้มครองสินค้าจากความเสียหายที่ เกิดขึ้นในระบบการขนส่งโยกย้าย จำแนกได้ดังนี้
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก น้ำหนักของสินค้า สินค้าที่มีน้ำหนักมาก เช่นเกิน 50 กิโลกรัม พบว่ามีการตกกระแทกบ่อยกว่า น้ำหนักบรรจุสินค้าที่เหมาะสมในการขนถ่ายอยู่ระหว่าง 10 – 25 กิโลกรัม ซึ่งไม่หนักจนแบกไม่ไหว ปัจจัยที่มีผลต่อ ความเสียหายจากการ ขนส่งมีดังนี้ และทำตก หรือเบาเกินไปจนถูกโยนได้ ส่วนสินค้าน้ำหนักเกิน 25 กิโลกรัม ไม่เหมาะสมกับการลำเลียงด้วยแรงงาน
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก ขนาดและรูปทรงของสินค้า เช่นสินค้ามีขนาด ( กว้าง X ยาว ปัจจัยที่มีผลต่อ ความเสียหายจากการ ขนส่งมีดังนี้ X สูง ) มากกว่า 70 X 50 X 50 เซนติเมตร และมีน้ำหนักเกิน 25 กิโลกรัม ไม่เหมาะสมกับการลำเลียงด้วยแรงงาน เพราะจะเกิดการตกกระแทกได้ง่าย ถ้าเป็นการลำเลียงด้วยสายพาน สินค้าที่มี ฐานแคบและรูปทรงสูงมีโอกาสตกหล่นจากสายพาน มากกว่าสินค้าที่มีฐานกว้างและเตี้ยกว่า
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก จำแนกความเสียหายจากการขนส่งโดย ยานพาหนะประเภทต่างๆ ได้ดังนี้ การขนส่งโดยรถไฟ ความเสียหายจากการขนส่งนี้มักเกิดจากการกระแทก เนื่องจากการกระแทกของหัวจักรรถไฟ และความเสียหายจากการสั่นสะเทือนภายใต้การกดทับของหีบห่อสินค้าที่วางซ้อนกัน
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก การขนส่งโดยรถยนต์ ความเสียหายส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นมาจากการสั่นสะเทือน ซึ่งความรุนแรงจะมากหรือน้อยนั้นขึ้นอยู่กับสภาพถนน คุณสมบัติของสินค้า ระบบเครื่องยนต์และการสปริงตัวของรถสภาพถนนบางสายที่มีผิวถนนไม่เรียบสม่ำเสมอจะทำให้เกิดความเสียหายต่อตัวสินค้าได้มาก เพราะมีผลให้การสั่นสะเทือนรุนแรงขึ้น
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก การขนส่งโดยเครื่องบิน การขนส่งวิธีนี้มีความเสียหายน้อยที่สุด และใช้อุปกรณ์ช่วยในการ ขนถ่ายอยู่แล้ว ความเสียหายหลักของสินค้าที่เกิดขึ้นเป็นผลจากการ สั่นสะเทือนที่ความถี่สูงจากการทำงานของเครื่องยนต์ และสภาพภายใน ท้องเครื่องบินบรรทุกตู้ขนส่งสินค้าที่มีอุณหภูมิ และความดันต่ำ
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก การขนส่งโดยเรือ โดยเฉเพาะอย่างยิ่งเรือเดินสมุทร พบว่าเกิดความเสียหายได้หลายลักษณะ ทั้งทางกล ทั้งจากสภาพดินฟ้าอากาศ ความเสียหายจากสิ่งมีชีวิต เพราะเป็นการขนส่งระยะไกลใช้เวลานาน ต้องใช้การลำเลียงขนถ่ายหลายทอด จึงเกิดความเสียหายแก่สินค้าขึ้นได้มาก เช่น จากการสั่นสะเทือน การขนส่งทางเรือต้องมีการขนย้ายลำเลียงสินค้าหลายจุด มีการสั่นสะเทือนที่ความถี่ต่ำจากการทำงานของเครื่องยนต์
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก การใช้ตู้ขนส่งสินค้า Containerzation การนำตู้สินค้ามาใช้ในระบบการขนส่งนั้นได้รับความนิยมตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมาองค์กรว่าด้วยมาตรฐานระหว่างประเทศได้ให้ความหมายของตู้ขนส่งไว้ว่า”เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการขนส่งซึ่งมีความแข็งแรงเพียงพอที่จะนำมาใช้งานได้และต้องได้รับการออกแบบให้ง่ายต่อการนำสินค้าเข้าและออกจากตู้ร่วมทางให้ความสะดวกในการขนส่งหลายทอดโดยไม่ ต้องมีการนำสินค้าออกจากตู้จนกว่าจะถึงมือผู้รับ”จุดประสงค์สำคัญในการนำตู้คอนเทนเนอร์มาใช้เพื่อการจัดส่งสินค้าจากต้นทางถึงปลายทางได้อย่างปลอดภัย
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก การบรรจุภัณฑ์เพื่อการส่งออก ปัจจัยพิจารณาการบรรจุภัณฑ์เพื่อการส่งออก ในการตัดสินใจด้านการบรรจุภัณฑ์เพื่อ การส่งออก มีข้อพิจารณาดังนี้ 1 ลักษณะและธรรมชาติของผลิตภัณฑ์ เพราะผลิตภัณฑ์แต่ละประเภทย่อม เหมาะสมกับบรรจุหีบห่อที่แตกต่างกัน เช่น สินค้าอุตสาหกรรม สินค้าประเภทอาหาร สำเร็จรูป สินค้าหัตถกรรม หรือสินค้าเกษตรกรรม จะมีการหีบห่อที่แตกต่างไป ทั้งในแง่ วัสดุ การออกแบบ และกระบวนการบรรจุหีบห่อ ทั้งเพื่อการขายปลีกและเพื่อการขนส่ง
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก 2 ลักษณะวิธีการ เส้นทาง และระยะเวลาในการขนส่ง ว่าใช้การขนส่ง สินค้าไปยังตลาดโดยวิธีการใดเป็นการขนส่ง ทางเรือ ทางบก หรือโดยทางอากาศ ระยะเวลาเฉลี่ยในการขนส่งถึงตลาดวิธีการลำเลียงสินค้า ณ. ประเทศปลายทาง 3 กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องในตลาดต่างประเทศ เป็นอย่างไร ทั้งกฎระเบียบที่ เกี่ยวข้องกับ การขนส่ง ระหว่างประเทศ และกฎระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการ บรรจุ หีบห่อสำหรับสินค้านำเข้าของประเทศต่างๆ
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก การออกแบบบรรจุภัณฑ์ด้านวัสดุและโครงสร้าง มี หลักพิจารณาดังนี้ 1) ควรพิจารณาออกแบบให้บรรจุภัณฑ์มี ความแข็งแรงเพียงพอสำหรับการขนส่งระหว่างประเทศ เพื่อป้องกันความเสียหายของสินค้าในลักษณะและ สาเหตุต่างๆ เช่น การแตกหักจากการกดทับการกระแทก จากการสั่นสะเทือน การขึ้นสนิมและขึ้นรา การปนเปื้อน การขโมยและการสูญหาย และเหตุอื่นๆดังอธิบายไว้ใน หัวข้อที่ผ่านมาในบทนี้
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก 2) คำนึงถึงการออกแบบขนาดของบรรจุภัณฑ์ให้สามารถใช้ ปริมาตรของพาหนะที่ใช้ในการขนส่งได้อย่างเต็มที่มีน้ำหนักบรรจุเหมาะสม และต้องออกแบบให้มีรูปลักษณะ และการใช้งานให้เหมาะสมกับสภาวะใน ต่างประเทศ ตัวอย่าง เช่น บรรจุภัณฑ์จะต้องมีขนาดที่เหมาะสมกับชั้นขายปลีกซึ่งมีขนาดมาตรฐานในยุโรปได้กำหนดให้ชั้นวางสินค้ามีขนาด 600 X 400 มิลลิเมตร ตามมาตรฐานของ ISO ผลิตภัณฑ์อย่างเช่น แป้ง , น้ำตาล , สินค้ากระป๋อง ได้วางแผ่นรองรับสินค้าในซุปเปอร์มาร์เก็ต และขายโดยตรงในรูปบรรจุภัณฑ์ที่หยิบ
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก ฉวยได้เลย ดังนั้น ควรมีการออกแบบผลิตภัณฑ์เหล่านี้ให้ เหมาะสมกับการวางโชว์และเพื่อการส่งเสริมการตลาดด้วย นอกจากนั้นขนาด ของผลิตภัณฑ์ส่วนมากที่ใช้สำหรับขายปลีกควรจะได้รับการปรับปรุงหลาย ประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกากำหนดขนาดบรรจุสินค้านำเข้าโดยชัดเจน เช่น เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ต้องเป็นขนาด 50 , 200 , 500 , 750 มิลลิเมตร 1 ลิตร และ 1.75 ลิตรเท่านั้น 3) พิจารณาสภาวะของคลังสินค้าและการเก็บรักษาระหว่างการขนส่งตลอดจนวิธีลำเลียงสินค้า ณ ประเทศปลายทาง บรรจุภัณฑ์ที่ใช้ขนส่งภายในประเทศมักไม่แข็งแรงเพียง
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก 4) มีการเลือกใช้วัสดุบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสม ไม่ขัดต่อกฎระเบียบ ของประเทศผู้นำเข้าและสอดคล้องกับรสนิยมของผู้บริโภคในต่างประเทศ ตัวอย่างเช่น - ในหลายประเทศ อาทิเช่น ประเทศเนเธอร์แลนด์ , เดนมาร์ก , แคนาดา , อเมริกา , ญี่ปุ่น ห้ามนำเข้าสินค้าที่บรรจุหีบห่อด้วยหญ้าและฟาง ประเทศเดนมาร์ก นอกจากห้ามนำสินค้าเข้าที่บรรจุหีบห่อด้วยหญ้าและฟาง รวมทั้งไม่ควรบรรจุลงในกระสอบสำหรับสินค้าประเภท เนื้อ มันฝรั่ง รำข้าว - ในหลายประเทศระบุว่าวัสดุสำหรับการหีบห่อควรแข็งแรง สามารถป้องกันการเสียหายต่อสินค้า ทนทานต่อสภาพดินฟ้าอากาศและการขนส่ง - บางประเทศกำหนดชนิดของวัสดุที่ใช้ทำหีบห่อสำหรับสินค้าบางประเภท เช่น น้ำมัน และก๊าซ
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก ชนิดของภาชนะบรรจุที่นิยมใช้กับการขนส่งระหว่างประเทศมีดังนี้ (1) กล่องกระดาษลูกฟูก ( Corrugated Fiberboard Boxes ) (2) ลังไม้ยึดด้วยตะปู (Nailed wooden boxed) (3) ลังโครงไม้ (Cates) (4) ลังไม้รัดด้วยลวด (Wirebound Boxes and Crated ) (5) ลังไม้อัดเสริมคร่าว ( Crated Plywood Boxes )
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (6) ถังไม้ต่างๆ ( Barrels ) (7) ถังโลหะ ( Steel Drums ) (8) ถังกระดาษ ( paper Fibre Drums ) (9) ห่อมัด ( Bale ) (10) ถุงช้อนหลายชั้น ( Multi wall shipping sacks )
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก สรุป ในระบบการขนส่งและกระจายสินค้าไปยังผู้บริโภคนั้นก็จะประสบกับเหตุการณ์ต่างๆที่อาจเกิดขึ้นจากวิธีการต่างๆที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายเก็บรักษาและขนส่งสินค้ารวมถึงสภาวะแวดล้อมต่างๆที่มากระทบในระหว่างการเดินทางของสินค้าจากต้นทางถึงปลายทางในระบบการขนส่งนั้นการป้องกันความเสียหายนั้นสามารถทำได้โดยพิจารณาปัจจัยต่างๆที่มากระทบกับสินค้า ในประเด็นปัจจัยที่ต้องพิจารณาเพื่อให้เกิดความประหยัดในระบบการขนส่ง ควรคำนึง ขนาด น้ำหนัก จำนวน ปริมาตรและเสถียรภาพของสินค้า การขนส่งสินค้าไปยังสถานที่ต่างๆ ทั้งระยะไกลและใกล้มีทั้ง ทางบก น้ำ และอากาศ โดยอาศัยยานพาหนะต่างๆ ได้แก่ รถไฟ รถยนต์ เรือ และเครื่องบิน ความเสียหายของสินค้าในระหว่าง
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก ต่อสรุป การขนส่งเกิดขึ้นได้หลายลักษณะทั้งความเสียหายในทางกล เช่น จากการกดทับ การตกกระแทก การสั่นสะเทือน การเจาะทะลุ การยุบตัว ออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อการส่งออก การออกแบบกราฟฟิกและคุณภาพการพิมพ์บนบรรจุภัณฑ์ยังคงยึดหลักการเดียวกันกับการออกแบบกราฟฟิกสำหรับสินค้าที่จำหน่ายในประเทศ คือการจูงใจให้เกิดความต้องการสินค้าเพื่อการจดจำสินค้าได้ง่ายเพื่อภาพลักษณ์ที่ต้องการของสินค้าประเด็นเพิ่มเติมก็คือความเป็นสากลของการออกแบบ และการสื่อความหมาย ความเหมาะสมสอดคล้องกับรสนิยมและวัฒนธรรม ในตลาดต่างประเทศไม่ผิดกฎระเบียบในตลาดต่างประเทศ
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก คำถามท้ายบท อธิบายสรุปถึงปัจจัยพิจารณาด้านการบรรจุภัณฑ์เพื่อโลจิสติกส์ การขนส่งโดยทั่วไปและสำหรับการขนส่งระหว่างประเทศ จงอธิบายถึงความเสียหาย ( Distribution Hazards ) ประเภทต่างๆ ดังนี้ 2.1 ความเสียหายจากการลำเลียง 2.2 ความเสียหายในทางกล 2.3 ความเสียหายจากสภาพอากาศ 2.4 ความเสียหายจากสิ่งมีชีวิต 2.5 ความเสียหายลักษณะอื่น 3. จงเสนอแนะเทคนิค หรือวิธีการป้องกันความเสียหายในระบบการขนส่งและการกระจายสินค้า 4. จงอธิบายสรุปถึงระบบการขนถ่ายหน่วยใหญ่ ( Unit Load System ) ใน 2 ประเด็น ต่อไปนี้ 4.1 การใช้แทนรองสินค้า (Palletization) 4.2 การใช้ตู้ขนส่งสินค้า (Containerization) 5. จงอธิบายถึงเทคนิคบรรจุภัณฑ์เพื่อการส่งออกในประเด็นต่อไปนี้ 5.1 ปัจจัยพิจารณาการบรรจุภัณฑ์เพื่อการส่งออก 5.2 เทคนิคและการอกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อการส่งออก
บทที่ 7 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก