การย่อยสลายสีย้อมเมทิลีนบลูด้วยกระบวนการพลาสมาวัฏภาคของเหลว ศศิน แก้วเจริญ / กรณิการ์ ขุนพินิจ/ อิศราวุธ ประเสริฐสังข์ สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร E-mail : isarawut_nui@hotmail.com ความสำคัญและที่มาของงานวิจัย ผลการทดลอง สีย้อม น้ำทิ้งที่เกิดจากการฟอกย้อมสีของอุตสาหกรรมสิ่งทอได้ถูกทิ้งสู่ธรรมชาติโดยไม่มีการบำบัดคุณลักษณะของน้ำทิ้งที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสีของน้ำทิ้งที่ทำให้ทัศนียภาพเสียไป สีย้อมผ้าแทบทุกชนิดมีส่วนประกอบที่เป็นพิษ และย่อยสลายตามธรรมชาติได้ยาก ผลของการสลายสีย้อมโดยเปรียบเทียบชนิดของขั้วไฟฟ้า พบว่าขั้วไฟฟ้าชนิดทองแดงสามารถทำการสลายสีย้อมเมทิลีนบลูได้ดีที่สุด ปัญหาจากสีย้อมที่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม เมทิลีนบลู พลาสมาวัฏภาคของเหลว คือ กระบวนการผลิตพลาสมาที่ล้อมรอบด้วยวัฏภาคของเหลว โดยใช้ความต่างศักย์ของไฟฟ้ากระตุ้นให้เกิดหมู่ว่องไว (Free radical) ซึ่งหมู่ว่องไวที่เกิดขึ้นจะเข้าทำปฏิกิริยาได้เร็ว ผลของปริมาณการเกิดไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์โดยเปรียบเทียบกับขั้วไฟฟ้าต่างชนิด พบว่าขั้วไฟฟ้าชนิดทองแดงมีปริมาณการเกิดไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์น้อยที่สุด กระบวนการพลาสมาวัฏภาคของเหลว วิธีดำเนินโครงงาน ผลของการสลายสีย้อมโดยใช้ขั้วไฟฟ้าทองแดงในการสลายสีย้อมที่ค่าพลังงานความถี่แตกต่างกัน พบว่าพลังงานความถี่ที่ 15 kHz มีความเหมาะสมต่อการดำเนินการสลายสีย้อมมากที่สุด การเตรียมสารละลายเมทิลีนบลู ชั่งผงเมทิลีนบลู เติมน้ำกลั่น สารละลายเมทิลีนบลู การติดตั้งระบบพลาสมา ตัวแปรที่ศึกษา: เวลาที่ใช้ในการสลายสีย้อม (0-60 นาที) ขั้วไฟฟ้า (ทังสเตน เหล็ก และทองแดง) พลังงานความถี่ (15 22.5 และ 30 kHz) สรุปผลการทดลอง กระบวนการพลาสมาวัฏภาคของเหลวสามารถนำมาใช้ได้จริงในการกำจัดสีย้อมเมทิลีนบลูได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยใช้ขั้วไฟฟ้าชนิดทองแดง ซึ่งสามารถกำจัดสารละลายเมทิลีนบลูได้มากกว่า 95 เปอร์เซ็นต์ และค่าพลังงานความถี่ที่เหมาะสมในการสลายสีย้อมเมทิลีนบลูเท่ากับ 15 kHz การต่อ Electrode เข้ากับเครื่องจ่ายกระแสไฟ วิเคราะห์ปริมาณการสลายตัวของสารละลายเมทิลีนบลู เอกสารอ้างอิง 1.ตรวจวัดการสลายตัวของสีย้อมด้วย UV-VIS spectrophotometer 2.ตรวจวัดปริมาณการเกิดไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ [1] O. Takai, Solution plasma processing ( SPP )*, Pure Appl. Chem, 2008;80:2003-2011 [2] Y. Jin, Y. Wu, J.Cao, Y. Wu, Optimizing decolorization of Methylene Blue and Methyl Orange dye by pulsed discharged plasma in water using response surface methodology, Journal of the Taiwan Institute of Chemical Engineers 45 (2014) 589–595