สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
Advertisements

การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
การเขียนโครงร่างวิจัย
อ. สิริพร มีนะนันทน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
แบบสอบถาม (Questionnaire)
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ส่วนประกอบของการอรรถาธิบาย
การออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้กระบวนการคิด
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ความหมายของโครงการ โครงการ (PROJECT) โครงการ (PROJECT) กระบวนการ ทำงานที่ประกอบด้วยกิจกรรมหลาย ๆ กิจกรรม ซึ่งมีการทำโครงการเป็นไปตามลำดับ โดยการ ทำงานจะต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
หลักสูตร วิทยากรแนว ปฏิบัติ การใช้แรงงานที่ดี (Training of Trainer : TOT) โดย กรวรรณ จงสถาพรพันธ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบ มาตรฐานแรงงาน 1.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
การพูดเพื่องานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
การโฆษณา การประชาสัมพันธ์
มาฝึกสมองกันครับ.
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
รายวิชา การบริหารการศึกษา
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
บทที่ ๑ การพูดและการนำสนอเพื่องานนิเทศศาสตร์
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การสอนควบคู่กับการเรียน
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
หลักการเขียนข่าว เพื่อการประชาสัมพันธ์องค์กร
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เทคนิคการนำเสนอเรื่องอย่างมีประสิทธิภาพ EFFECTIVE PRESENTATION TECHNIQUES มานิต ศุทธสกุล สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

การนำเสนอเรื่องด้วยวาจา หมายถึง กระบวนการในการถ่ายทอด เนื้อหาสาระ ข้อมูลข่าวสาร ข้อเท็จจริง หรือข้อเสนอ โดยวิธีการพูด ซึ่งมี วัตถุประสงค์และแผนการนำเสนอเรื่อง ที่ชัดเจน ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม

การวางแผนและเตรียมการนำเสนอ วิเคราะห์สถานการณ์ รวบรวมข้อมูลข่าวสาร หลักฐานอ้างอิง วางโครงเรื่องในการนำเสนอ กำหนดเทคนิคและเตรียมโสตทัศนูปกรณ์ ทดลอง ปรับปรุง และซักซ้อมการนำเสนอ

คำถามหลัก ที่ใช้สำหรับการวิเคราะห์สถานการณ์ คำถามหลัก ที่ใช้สำหรับการวิเคราะห์สถานการณ์ WHAT เสนอเรื่องอะไร ? WHY เสนอทำไม มีวัตถุประสงค์อะไร ? WHOM เสนอต่อใคร ผู้ฟังเป็นใคร ? WHO (ผู้นำเสนอ) เสนอในฐานะใด ? WHERE เสนอที่ไหน สภาพแวดล้อมเป็นอย่างไร ? WHEN เสนอเมื่อไร สถานการณ์เป็นอย่างไร ? HOW เสนออย่างไร (จึงประสบความสำเร็จ) ?

วัตถุประสงค์ ในการนำเสนอเรื่อง วัตถุประสงค์ ในการนำเสนอเรื่อง เพื่อรายงาน บอกเล่า หรือแจ้งให้ทราบ เพื่อพิจารณาอนุมัติหรือให้ความเห็นชอบ เพื่อพิจารณาตัดสินใจ

ข้อมูลข่าวสารและหลักฐานอ้างอิง ข้อมูลข่าวสารอื่นที่เกี่ยวข้อง สถิติ ผลการวิจัย ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา คำถามที่มักจะได้รับในการนำเสนอเรื่อง สาเหตุที่ทำให้สำเร็จ หรือล้มเหลวในการ นำเสนอเรื่องทำนองเดียวกัน

หลักเกณฑ์หรือแนวทางที่ใช้ในการวิเคราะห์ กฎหมาย กฎ ระเบียบ มาตรฐาน เกณฑ์ นโยบาย ทิศทาง แผนงาน แผนกลยุทธ หลักการ หลักวิชา ทฤษฏี สมมุติฐาน ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ ความเป็นธรรม ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผลลัพธ์ ผลกระทบที่ตามมา

การสร้างโครงเรื่องในการนำเสนอ รวบรวมข้อมูลข่าวสารและรายละเอียดทั้งหมด กำหนดประเด็นและเนื้อหา เฉพาะที่จะนำเสนอ จัดลำดับประเด็น เนื้อหา และวิธีการนำเสนอ ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน เหมาะสม

การนำเสนอเพื่อขออนุมัติ หรือเพื่อตัดสินใจ การนำเสนอเพื่อขออนุมัติ หรือเพื่อตัดสินใจ PURPOSE POSITION PROBLEM PRINCIPLE POSSIBILITY PROPOSAL

การนำเสนอเพื่อทราบ รายงาน หรือบรรยาย การนำเสนอเพื่อทราบ รายงาน หรือบรรยาย การกล่าวนำ การนำเสนอเนื้อหาสาระ การสรุป

การบรรยาย คือ การถ่ายทอดรายละเอียด เนื้อหาของเรื่องที่ได้เตรียมไว้ ก่อนล่วงหน้าอย่างเป็นระบบ โดยวิธีการพูดของวิทยากร หรือผู้บรรยาย

การเรียนรู้ คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของมนุษย์ ที่ค่อนข้างถาวร เพราะผลจากการได้รับรู้ ได้รับประสบการณ์ตรง หรือได้ปฏิบัติซ้ำ ๆ

ประเภทของการเรียนรู้ K = KNOWLEDGE ความรู้ U = UNDERSTANDING ความเข้าใจ A = ABILITY ความสามารถ S = SKILL ทักษะ A = ATTITUDE เจตคติ

หลักการเรียนรู้สำหรับ “ ผู้ใหญ่” เรียนเมื่อมีความต้องการ รู้สึกหรือเห็นว่าจำเป็น สนใจเรียนรู้สิ่งที่เป็นจริง เรียนรู้ได้ดีโดยการปฏิบัติ พอใจบรรยากาศความเป็นกันเอง และได้มีส่วนร่วม เรียนรู้ได้ดีเมื่อมีการเชื่อมโยงให้เนื้อหาสัมพันธ์กัน ชอบการเรียนรู้ที่มีหลาย ๆ วิธี ตามความเหมาะสม

ขั้นตอนในการบรรยาย การกล่าวนำเข้าสู่เรื่อง การนำเสนอเนื้อหาของเรื่อง การสรุปการบรรยาย

การกล่าวนำและการนำเข้าสู่เรื่อง กล่าวทักทาย และสร้างความสัมพันธ์กับผู้ฟัง เชื่อมโยงกับเรื่องก่อน และแนะนำหัวข้อวิชา ระบุหัวข้อหลักหรือประเด็นสำคัญของหัวข้อวิชา ระบุวัตถุประสงค์ของหัวข้อวิชา และประโยชน์ ใช้วิธีการกระตุ้นความสนใจของผู้ฟัง

การนำเสนอเนื้อหาของเรื่อง นำเสนอตามลำดับเรื่องที่ได้เตรียมการไว้ อธิบาย ยกตัวอย่างประกอบ ย้ำประเด็นสำคัญ สังเกตปฏิกริยาผู้ฟัง และตรวจสอบความเข้าใจ เชื่อมโยงระหว่างหัวข้อให้สัมพันธ์สอดคล้องกัน

การสรุปการบรรยาย ตรวจสอบความเข้าใจของผู้ฟังอีกครั้ง สรุปเค้าโครงหรือภาพรวมของเรื่องที่บรรยาย เน้น ย้ำประเด็นหรือสาระสำคัญของเรื่อง ฝากข้อคิด หลักการ หรือเชิญชวน โน้มน้าวใจ เชื่อมโยงไปสู่หัวข้อวิชาหรือเรื่องในลำดับต่อไป

การวางแผนและเตรียมตัวในการบรรยาย ก่อนการบรรยาย ในการบรรยาย จบการบรรยาย

ก่อนการบรรยาย การวิเคราะห์สถานการณ์ การศึกษารายละเอียดของเรื่อง การเตรียมแผนการสอน การเตรียมโสตทัศนูปกรณ์ การทดลองและซักซ้อม

แผนการสอน คือ รายละเอียดเกี่ยวกับประเด็นและเนื้อหาสาระ ของเรื่อง เทคนิคหรือวิธีการที่ใช้ในการให้ความรู้ หรือสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ เครื่องมือหรือ โสตทัศนูปกรณ์ต่าง ๆ รวมทั้งกำหนดเวลาที่ใช้ สำหรับการให้ความรู้ ซึ่งผู้สอนได้วิเคราะห์และ และวางแผนไว้ล่วงหน้าอย่างเป็นระบบ

ขั้นตอนการจัดทำแผนการสอน ทำความเข้าใจและระบุวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน ระบุประเด็นหลัก ประเด็นรอง และสาระสำคัญ พิจารณาเทคนิคหรือวิธีการสอน และกำหนด เวลาที่ใช้สำหรับแต่ละประเด็นให้เหมาะสม ระบุเครื่องมือหรือโสตทัศนูปกรณ์ที่จะใช้สอน ทดลอง จับเวลา ปรับปรุง และใช้ซักซ้อม

เทคนิคการนำเสนอเรื่องอย่างมีประสิทธิภาพ แผนการสอน เทคนิคการนำเสนอเรื่องอย่างมีประสิทธิภาพ เวลา เนื้อหา วิธีการ / อุปกรณ์ 00.00-00.15 กล่าวนำเข้าสู่เรื่อง - ทักทายผู้ฟัง (ชื่นชมหน่วยงาน) - ระบุความสำคัญของการนำเสนอเรื่อง - ให้ผู้ฟังช่วยกันชี้แจง กับบทบาทหน้าที่ของผู้บริหาร ถึงภารกิจที่ปฏิบัติอยู่ - ระบุประเด็นหลัก สาระสำคัญ เพื่อให้เห็นว่าผู้บริหาร - ระบุประโยชน์ที่จะได้รับจากวิชานี้ จำเป็นต้องทำหน้าที่ - ชี้แจง โน้มน้าวให้มีเจตคติที่ถูกต้อง นำเสนอเรื่อง เกี่ยวกับการนำเสนอเรื่อง และ - อธิบายถึงความ ยืนยันว่าสามารถฝึกฝนได้ไม่ยาก เป็นศาสตร์และศิลป์

ในการบรรยาย ไปถึงก่อนเวลา และเริ่มตรงเวลา ไปถึงก่อนเวลา และเริ่มตรงเวลา สร้างความสัมพันธ์ที่ดีและศรัทธาของผู้ฟัง ประเมินปฏิกริยา และตรวจสอบความเข้าใจ มีสติ และควบคุมอารมณ์ในระหว่างบรรยาย

จบการบรรยาย ควบคุมเวลา และพยายามจบให้ตรงเวลา ควบคุมเวลา และพยายามจบให้ตรงเวลา สรุปประเด็นและเนื้อหาสำคัญ เน้นประโยชน์และการนำไปใช้ เชื่อมโยง ฝากข้อคิด สร้างความสัมพันธ์ ม า นิ ต

การตอบข้อซักถามหรือข้ออภิปราย สังเกตปฏิกริยาของผู้ฟัง และพร้อมที่จะเปิดโอกาส ให้ซักถาม หรือมีส่วนร่วมอภิปรายแสดงความเห็น ตั้งใจรับฟังจนจบความ ไม่รีบพูดสวนหรือแทรก ตอบให้ตรง สั้น กระชับ ชัดเจน มั่นใจ น่าเชื่อถือ ตรวจสอบความเข้าใจหรือความพึงพอใจของผู้ฟัง ในกรณีที่ตอบคำถามยาว หรืออภิปรายอย่างกว้างขวาง

การฟัง ( LISTEN ) L = LOOK INTERESTED I = INQUIRE WITH QUESTION S = STAY ON THE TARGET T = TEST YOUR UNDERSTANDING E = EVALUATE THE MESSAGE N = NEUTRALIZED YOUR FEELING

ความสามารถในการรับรู้ของมนุษย์ ทางหู 13 % ทางตา 75 % สัมผัส 6 % ดมกลิ่น 3 % ชิมรส 3 %

โสตทัศนูปกรณ์ คือ สื่อหรืออุปกรณ์ ที่ช่วยในการสื่อสาร เพื่อช่วยให้ผู้รับได้ รับรู้ทั้งทางหู และ ทางตา

ประโยชน์ของโสตทัศนูปกรณ์ เพิ่มความน่าสนใจในการนำเสนอ ช่วยให้นำเสนอเนื้อหาตามลำดับที่เตรียมไว้ ช่วยให้มองเห็นภาพและทำความเข้าใจได้ง่าย ช่วยกำหนดและเน้นให้สนใจอยู่กับจุดที่เสนอ ช่วยให้จำได้ง่าย และจดจำได้ดี

โสตทัศนูปกรณ์ที่ใช้ประกอบการนำเสนอเรื่อง กระดานแบบต่าง ๆ แผ่นใสและเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ โปสเตอร์ ภาพถ่าย ภาพพลิก แผนที่ แผนผัง สไลด์ ภาพยนต์ วิดีโอ แบบจำลอง ตัวอย่างของจริง คอมพิวเตอร์

คุณลักษณะของโสตทัศนูปกรณ์ที่ดี สามารถช่วยในการรับรู้ได้ดีและง่ายยิ่งขึ้น เหมาะสมและสอดคล้องกับเนื้อหาสาระ ถูกต้อง เรียบร้อย น่าสนใจ สวยงาม ผลิตได้ง่าย และนำไปใช้ได้สะดวก ประหยัด ทนทาน หรือใช้ได้อย่างคุ้มค่า

การพูด เป็นการใช้ถ้อยคำ น้ำเสียง ลีลา ท่าทาง การแสดงออก รวมทั้งบุคลิกภาพของผู้พูด ในการถ่ายทอดความต้องการ หรือเนื้อหา สาระตามวัตถุประสงค์ของผู้พูด เพื่อสื่อถึงผู้ฟัง และต้องมีการตอบสนองจากผู้ฟัง

จำแนกตามวัตถุประสงค์ของการพูด บอกเล่า รายงาน หรือให้ข้อมูลข่าวสาร (INFORMATIVE) บรรยาย ให้ความรู้ (INSTRUCTIVE) เชิญชวน โน้มน้าว จูงใจ (PERSUASIVE) สร้างความบันเทิงใจ (RECREATIVE)

จำแนกตามวิธีการพูด พูดโดยการท่องจำมา (MEMORIZED) พูดโดยการอ่าน (READING) พูดจากความเข้าใจ (EXTEMPORANEOUS) พูดโดยไม่ได้เตรียมการล่วงหน้า(IMPROMPTU)

การจำแนกระดับของการพูด การพูดระหว่างบุคคล การพูดในกลุ่มบุคคล การพูดต่อที่ชุมชน การพูดทางสื่อมวลชน

การพัฒนาการนำเสนอให้น่าสนใจ บุคลิกภาพของผู้นำเสนอ การนั่งหรือยืน การเคลื่อนไหวร่างกาย มือ และการใช้มือประกอบการนำเสนอ การใช้ภาษา ศัพท์ ถ้อยคำ สำนวน น้ำเสียง จังหวะ ลีลาการพูด

การสร้างความสัมพันธ์อันดีกับผู้ฟัง การสังเกตปฏิกริยา และการใช้สื่อสายตา การปรับเนื้อหาสาระของเรื่องที่นำเสนอ การพัฒนาโสตทัศนูปกรณ์ การปรับให้เข้ากับสถานการณ์ ? ? ? ? ? ? ? ? ? ? ? ? ? ?

การพัฒนาประสิทธิภาพในการนำเสนอ ความรักและความศรัทธา การเตรียมความพร้อม ความมั่นใจและความมั่นคง ศิลปะการพูด และการโน้มน้าวใจ การใช้เทคนิคและโสตทัศนูปกรณ์

อันพูดนั้นไม่ยาก ปานใด เพื่อนเอย ใครที่มีลิ้นอาจ พูดได้ อันพูดนั้นไม่ยาก ปานใด เพื่อนเอย ใครที่มีลิ้นอาจ พูดได้ สำคัญแต่ในคำ ที่พูด นั่นเอง อาจจะทำให้ชอบ และชัง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖

! ! ! NOW ! ! ! QUESTION TIME