ประเทศไทยกับอาเซียนและ การก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยกับอาเซียนและ การก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 โดย น.ส.บุษฎี สันติพิทักษ์ รองอธิบดีกรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ 30 มีนาคม 2555
ความเป็นมา ก่อตั้ง : 8 สิงหาคม 2510 โดย รมว.กต. อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ลงนามใน “ปฏิญญากรุงเทพฯ” สมาชิก : 10 ประเทศ โดยมีสมาชิกเพิ่มเติม ได้แก่ บรูไน (2527) เวียดนาม (2538) ลาว เมียนมาร์ (2540) และกัมพูชา (2542) เป้าหมาย : จัดตั้งประชาคมอาเซียนภายในปี 2558 ซึ่งประกอบด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
จุดเริ่มต้นของอาเซียน
ASEAN Factsheet ประชากร – 600.18 ล้านคน (ปี 2553) พื้นที่- 4.5 ล้าน ตร. กม. ศาสนาหลัก- อิสลาม พุทธ คริสต์ ฮินดู GDP รวม 1.843 ล้านล้าน ดอลลาร์สหรัฐ
วัตถุประสงค์ของอาเซียน ส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิก ธำรงสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคง เสริมสร้างเศรษฐกิจและความอยู่ดีกินดีของประชาชน พัฒนาสังคมและวัฒนธรรม ส่งเสริมความร่วมมือกับภายนอก และองค์การระหว่าง ประเทศต่างๆ
บทบาทสำคัญของไทยในอาเซียน ไทยเป็น 1 ใน 5 ประเทศสมาชิกผู้ก่อตั้งอาเซียน (อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ) ไทยผลักดันให้มีการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) เมื่อปี 2535 ริเริ่มเรื่องการเสริมสร้างความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนและกับนอกภูมิภาค (Enhanced ASEAN Connectivity & beyond)
ความสำคัญของอาเซียนต่อไทย ในด้านเศรษฐกิจ ความสำคัญของอาเซียนต่อไทย ในด้านเศรษฐกิจ ท่องเที่ยว ไทยมีนักท่องเที่ยวอาเซียน 4.5 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 28.6 ของนักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งหมด(ปี 2553) การค้า เป็นคู่ค้าอันดับหนึ่งของไทย มีมูลค่าการค้าระหว่างกัน 74,696 ล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 19.99 ของมูลค่าการค้าทั้งหมดของไทยและไทยได้เปรียบดุลการค้า 1 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐฯ การลงทุน สมาชิกอาเซียนเข้ามาลงทุนในไทย 811.36 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และไทยไปลงทุนในอาเซียน 1,962.01 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2553)
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ปี 2558 (2015) กฎบัตรอาเซียน ASEAN Charter ประชาคม การเมืองและความมั่นคง อาเซียน (APSC) ประชาคมเศรษฐกิจ (AEC) ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC) Connectivity 9 9
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อ 20 พ.ย. 2550 ผู้นำอาเซียนได้ลงนามกฎบัตรอาเซียน ซึ่งเป็นเสมือนธรรมนูญของอาเซียนที่จะวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กร โดยมีเป้าหมาย 3 ประการ คือ - มีกฎกติกาในการทำงาน (Rules-based) - มีประสิทธิภาพ - มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีผลใช้บังคับเมื่อ 15 ธ.ค. 2551 10
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ในแง่กฎหมาย : ธรรมนูญ (Constitution) เป็นการก่อตั้ง ASEAN ให้เป็นองค์การระหว่าง ประเทศ ยืนยันการมีนิติฐานะของ ASEAN ทำให้ ASEAN อยู่บนพื้นฐานของกฏเกณฑ์ การจัดโครงสร้างภายใน ASEAN
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ด้านการเมือง ระบุหลักการสำคัญ อาทิ การไม่แทรกแซงกิจการภายใน การเคารพในอธิปไตยและบูรณภาพแห่งดินแดน การระงับข้อพิพาทโดยสันติวิธี เป็นต้น หลักฉันทามติ Consensus
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน สร้างกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกัน ด้านประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน มีเอกภาพ สงบสุข แข็งแกร่ง และรับผิดชอบแก้ไขปัญหา ความมั่นคงร่วมกัน มีปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอก และคงความเป็นศูนย์กลาง และบทบาทของอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน สัมมนาสื่อมวลชนประชาสัมพันธ์เชื่อมโยงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี e-ASEAN นโยบายภาษี เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี ปี 2558 สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย สนับสนุนการพัฒนา SMEs จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค 14 เก็จพิรุณ เกาะสุวรรณ์
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม ความยุติธรรมและสิทธิ การส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน การลดช่องว่างทางการพัฒนา ไม่จน ไม่เจ็บป่วย มีการศึกษา ปลอดภัย รวมใจเป็นหนึ่ง
แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน ความเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน คมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ พลังงาน ความเชื่อมโยงด้านกฎระเบียบ เปิดเสรีและอำนวยความสะดวกทางการค้า เปิดเสรีและอำนวยความสะดวกในการบริการและการลงทุน ความตกลง/ข้อตกลงยอมรับร่วมกัน ความตกลงการขนส่งในภูมิภาค พิธีการในการข้ามพรมแดน โครงการเสริมสร้างศักยภาพ ความเชื่อมโยงด้านประชาชน การศึกษาและวัฒนธรรม การท่องเที่ยว
ความสัมพันธ์กับภายนอกภูมิภาค U.S.A. Australia Canada Russia New Zealand ASEAN China Republic of Korea E.U. Japan India
การเตรียมความพร้อม สู่ประชาคมอาเซียน การเตรียมความพร้อม สู่ประชาคมอาเซียน
ภาครัฐ - จัดตั้งคณะกรรมการอาเซียนแห่งชาติ - ผลักดันการตั้ง ASEAN Unit ในทุกหน่วยงาน - จัดฝึกอบรมเพื่อพัฒนาข้าราชการ - จัดทำหลักสูตรอาเซียน - แก้ไขและปรับปรุงกฎหมาย - เพื่อให้สอดคล้องกับพันธกรณี - เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
ภาคเอกชน - พัฒนาศักยภาพของภาคเอกชน (SMEs) และ แรงงานไทย เพื่อแข่งขันในตลาดอาเซียน - ใช้ประโยชน์จากที่ตั้งของไทย เป็น “regional hub” - ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายนักธุรกิจในอาเซียน - ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จาก FTA - จัดทำยุทธศาสตร์เพื่อลดผลกระทบที่อาจเกิด จากการเปิดเสรี
ภาคประชาชนและภาคการศึกษา สร้าง “คนไทยสำหรับโลกอาเซียน” ทักษะภาษา - อังกฤษ จีน เกาหลี ญี่ปุ่น ภาษาประเทศสมาชิกอาเซียน รู้จัก เข้าใจ และเป็นมิตรกับประเทศเพื่อนบ้านอาเซียน พัฒนาการศึกษา ให้ตอบสนองตลาดแรงงาน (พัฒนาและปรับทัศนคติต่อการเรียนในสายอาชีพ) ศึกษาข้อมูลของประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงการสร้างความตระหนักรู้เรื่องอาเซียน ของกระทรวงการต่างประเทศ อาเซียนสัญจร โครงการสัมมนาครูต้นแบบสู่ประชาคมอาเซียน ค่ายยุวทูตอาเซียน การบรรยายตามหน่วยงานต่างๆ จัดสัมมนา 22
เว็บไซต์เกี่ยวกับอาเซียน www.mfa.go.th/asean www.dtn.moc.go.th (ศูนย์ข้อมูลประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน) www.aseansec.org www.southeastasia.org www.aseanwatch.org www.cil.nus.edu.sg www.aseanmedia.net
www.mfa.go.th/ASEAN asean_th@hotmail.com รายการ “เราคืออาเซียน” วิทยุสราญรมย์ AM 1575 Khz ทุกวันอังคาร เวลา 17.30 – 18.00 น. Facebook “เราคืออาเซียน” One Vision One Identity One Community