จำนวนเตียงจำนวนผู้รับบริการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โอกาสและความท้าทาย ของศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาลปลอดโรคในอนาคต
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
1. การให้การดูแลผู้ป่วยแบบ ปฐมภูมิ 2. การประเมินผู้ป่วยตามความ รุนแรง 3. การดูแลผู้ป่วยที่อาจมีอาการ เปลี่ยนแปลง 4. การป้องกันและการเฝ้าระวัง การติดเชื้อในชุมชน.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือน กันยายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
รพ.พุทธมณฑล.
และความปลอดภัยในโรงพยาบาล
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing) 6 กรกฎาคม 2559
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
COMPETENCY DICTIONARY
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
ทีม โรงพยาบาลกาฬสินธุ์
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
นวัตกรรมทางการพยาบาล “FIFO cautery box”
II-4การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ขดลวดพยุงสายยาง.
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทีมป้องกันควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล ICC: Infection control committee

จำนวนเตียงจำนวนผู้รับบริการ บริบท โรงพยาบาล 60 เตียง ห้องคลอด ห้องผ่าตัด SNB หอผู้ป่วยตึก 1 และหอผู้ป่วยพิเศษตึก 4 ICN 1 คน ( ผ่านการอบรม 4 เดือน ) ICWN 6 คน ( ผ่านการอบรม 2 สัปดาห์ 2 คน , ไม่ผ่านการอบรม 4 คน) จำนวนเตียงจำนวนผู้รับบริการ 2557 2558 2559 2560 2561 จำนวนวันนอนโรงพยาบาลรวมทั้งหมด 13,092 14,078 14,157 11,926 8,118 จำนวนวันนอนเฉลี่ยต่อราย 2.47 2.55 2.57 2.12 2.6 จำนวนคลอดทั้งหมด (ราย) 1,532 2,192 2,221 2,152 1,274 จำนวนผ่าตัด (ราย) 1,579 1,327 1,548 1,422 693 2

จุดเน้นงาน IC 2558 1.สร้างวัฒนธรรมการล้างมือของบุคลากร 7 ขั้นตอนสู่ 5 Moment 2. พัฒนาระบบจ่ายกลางเป็น Central supply 3. ลดอัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาลตำแหน่งแผลผ่าตัดและ neonatal sepsis ล้างมือ : ให้ความรู้ สนับสนุนอุปกรณ์ ให้ข้อมูลย้อนกลับ และประเมินรายบุคคล เพิ่มความตระหนัก Neonatal sepsis : พัฒนา screening -> ประเมินและรักษาได้เร็ว -> ลดความรุนแรงของโรค และมีการจัดการ zoning ให้มีการระบายอากาศที่ดี จากการทำ IC Round บุคลากรขาดสมรรถนะในการจัดการเครื่องมือและอุปกรณ์ 3

จุดเน้นงาน IC 2559 1.สร้างวัฒนธรรมการล้างมือของบุคลากร 7 ขั้นตอนสู่ 5 Moment 2.ลดอัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาลตำแหน่งแผลผ่าตัดและ neonatal sepsis 3. 3.พัฒนาระบบโครงสร้าง Zoning โรงครัว Supply ER ทันตกรรม นำของลงไปล้างและห่อที่ Supply ยังมีเครื่องมือจากห้องผ่าตัดและทันตกรรมที่ยังไม่ได้ลงไปที่ห้อง Supply 4

จุดเน้นงาน IC 2560 1.ส่งเสริมการล้างมือ 7 ขั้นตอนสู่ 5 Moment 2.ลดอัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาลตำแหน่งแผลผ่าตัด และ neonatal sepsis 3.เน้นการล้างมือในผู้รับบริการโดยเพิ่มอ่างล้างมือและ Alcohol hand rub ให้เพียงพอและเข้าถึงง่าย 5

อัตราการติดเชื้อโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพปี 2556-2561 อัตราการติดเชื้อโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพปี 2556-2561 6

จุดเน้นการทำงาน IC 2561 จุดเน้นที่ 1 จุดเน้นที่ 2 จุดเน้นที่ 3 ลดอัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล ตำแหน่ง แผลผ่าตัด ลดอัตรา Neonatal Sepsis ดูแลสุขภาพบุคลากรจากอุบัติเหตุ และการติดเชื้อจากการปฏิบัติงาน 7

จุดเน้นที่ 1 SSI Prevention) อัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัดเป้าหมาย < 1 Process Performance Purpose 1.วิเคราะห์หาสาเหตุโดยการทำ RCA 2.ทบทวนการใช้ Gap Analysis ให้ครอบคลุม 3.ควบคุมและจัดการสิ่งแวดล้อม 4.ระบบเครื่องมือ 5.เพิ่มสมรรถนะบุคลากร 6.Empowerment มารดาในการดูแลแผลผ่าตัด ลดอัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล ตำแหน่ง แผลผ่าตัด (SSI Prevention) จากการทบทวน caseปี 56 57 case SSI 11ครั้งเป็นผ่าตัด c/s ทั้งหมดเป็น case elective 7 ครั้งคิดเป็น 63.7% Case Emergency 4 ครั้งคิดเป็น 36.3 อัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัดเป้าหมาย < 1 8

ลดอัตราการเกิด Neonatal Sepsis Performance Purpose Process พัฒนา Screening ประเมินและรักษาได้เร็ว เพิ่มสมรรถนะบุคลากร เฝ้าระวังใน case ที่มีภาวะเสียงได้แก่ มารดาติดเชื้อ มีน้ำเดินก่อนคลอด Hand hygiene ลดอัตราการเกิด Neonatal Sepsis 1.56( 3ครั้ง) 1.12( 2ครั้ง) 0.08( 1ครั้ง) นำของลงไปล้างและห่อที่ Supply ยังมีเครื่องมือจากห้องผ่าตัดและทันตกรรมที่ยังไม่ได้ลงไปที่ห้อง Supply 0.07(1 ครั้ง) < 2 ต่อพันวันนอน 9

จุดเน้นที่ 3 บุคลากรปลอดภัย จำนวนการเกิดอุบัติการณ์การสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่ง(ครั้ง)ของบุคลากรปี 2551-2561 อุบัติการณ์การเกิดแยกตามกิจกรรม (n=25ครั้ง) 2 5 9 6 10

Process Intervention ปฏิบัติไม่ถูกต้องในเรื่องของการปฏิบัติตัว ส่งเสริมการล้างมือตามหลัก 5 moment PPE การสวมใส่ ส่งเสริมให้ใช้ one hand รับรางวัลรองชนะเลิศนวัตกรรมด้าน product G & C Hospital ปี 2560 11

บุคลากรขาดทักษะและความระมัดระวังในการผ่าตัด แนวทางแก้ไข ปี 2561พบอุบัติการณ์ของมีคมทิ่มตำที่ห้องผ่าตัด 4 ครั้งคิดเป็นร้อยละ 4.65 บุคลากรขาดทักษะและความระมัดระวังในการผ่าตัด แนวทางแก้ไข เพิ่มสมรรถนะบุคลากร แนวทางการส่งเครื่องมือในห้องผ่าตัด - ผลเลือด negative ผลการดำเนินงาน 12

โอกาสพัฒนาเพื่อลดอัตราการติดเชื้อที่แผลฝีเย็บ ปี 2561พบอุบัติการณ์ปี 61 มีการติดเชื้อที่แผลฝีเย็บ 2 ครั้งคิดเป็นอัตราการติดเชื้อร้อย ละ 0.31 แนวทางแก้ไข 1.เพิ่มสมรรถนะบุคลากรเรื่องการเย็บแผล 2.เพิ่มจำนวนครั้งการ scrub 3.มีการตรวจสอบประสิทธิภาพของ cat gut ร่วมกับงานเภสัชกรรม 4.ตรวจสอบเครื่องมือที่ปราศจากเชื้อ ปรับเส้นทางรับส่งของ ยังไม่พบอุบัติการณ์การติดเชื้อเพิ่ม ผลการดำเนินงาน 13

กิจกรรม IC round เป้าหมาย จากกิจกรรม IC round พบว่ามีการปฏิบัติตามแนวทางของ IC ลดลง ทางทีมจึงมีการจัดกิจกรรมการส่งเสริมการล้างมือ แต่บุคลากรยังไม่ตระหนัก จึงได้มีการกำหนดเป็นจุดเน้นยุทธศาสตร์รพ และเป็น KPI รายบุคคล เชื่อมโยงกับทีม ENV ด้านโครงสร้างและการจัด zoning ในโรงพยาบาล ให้ผ่านตามเกณฑ์มาตรฐาน (โดยเฉพาะหน่วยที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ ) FIFO first in first out เครื่องมือ + น้ำยา

โครงการการส่งเสริมการล้างมือในบุคลากร http://hpc5.anamai.moph.go.th โครงการการส่งเสริมการล้างมือในบุคลากร โอกาสพัฒนา อัตราการล้างมือถูกต้องตาม 5 Momentเป้าหมาย > 80% 15

สิ่งแวดล้อมปลอดภัย GREEN&CLEAN Hospitalระดับดีมาก 16

ชุมชนปลอดภัย 17

แผนพัฒนาต่อเนื่อง การพัฒนาศักยภาพบุคลากร และการปฏิบัติตามมาตรฐาน การควบคุมการใช้ยาปฏิชีวนะ การส่งเสริมการล้างมือแบบ My 5 Momentในบุคลากร 18

19