บทที่ 4 โมเดิร์น OS.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
Advertisements

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน
ซอฟแวร์ SOFTWARE น า ง ส า ว ฐ ิ ติ ม า น า ม ว ง ศ์ เ ล ข ที่ 4 3 ชั้ น ม. 4 / 7.
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
เทคโนโลยีสมัยใหม่ วิธีการอัดเกรด iPhone,iPhone touch เป็น ios5 เรื่อง.
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
Fix common PC problems จัดทำโดย เตรียมสถาปัตยกรรมศาสตร์ ปี 1 นาย ภูวิศ นิ่มตระกูล เลขที่ 27 นาย วีรภัทร ท้วมวงษ์ เลขที่ 30.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย ด. ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่ 8 ด. ญ. เกศกมล ใจปินตา ม.1/2 เลขที่ 10 เสนอ อาจารย์ อรอุมา.
Information and Communication Technology Lab2
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
S OFTWARE จัดทำโดย นางสาว กนกวรรณ สุขมิลินท์ เลขที่ 34 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3.
FIX COMMON PC PROBLEMS By Missis Jatuporn Surinseng Missis Chamaiporn Sommit.
วิชา. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในชีวิตประจำวัน บทที่ 2
… FACEBOOK … ..By Peerapon Wongpanit
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
และสร้างเว็บไซต์ประเภทCMS
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Microsoft office power point การใช้งาน โปรแกรม Microsoft Power Point.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนบอกองค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ได้ สาระการเรียนรู้ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุลากร คอมพิวเตอร์ ข้อมูล.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 5 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Microsoft Windows.
เรื่อง การเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ กับ การนำเสนองาน โดย ครูอัมพร ประเสริฐสังข์ ครู คศ. ๑ โรงเรียนบ้านยามกาโนนคำ อ. เพ็ญ สพป. อุดรธานี เขต 1 วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
ซอฟต์แวร์ Software รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ความหมายและความสำคัญของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรม ที่คอยสั่งการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
วิธีการเลือกซื้อ คอมพิวเตอร์. เนื้อหาในส่วนนี้จะให้รายระเอียดและขั้นตอน ในการเลือกซื้อ เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เราได้เครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ตรงกับความ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
เรื่อง ภาษาซีเบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
บทที่ 5 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Microsoft Windows
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
โครงงาน(Project) เรื่อง ระบบร้านเช่าหนังสือออนไลน์
Android architecture and iOS architecture
By Btech GPS : Jan GPS By BtechGPS By Btech GPS : Jan
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
IP-Addressing and Subneting
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
IP-Addressing and Subneting
Content Team: คู่มือการป้องกันสินค้าลอกเลียนแบบ 9 July 2015
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
Information and Communication Technology Lab2
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
บทที่ 5 ระบบจัดการฐานข้อมูล
Basic Input Output System
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ Electronic Book System
การพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานเครื่องแม่ข่ายสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ระบบการจัดการคลินิกครบวงจร
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
ภัยคุกคาม ที่เกิดขึ้นในระบบสารสนเทศ
SMS News Distribute Service
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 โมเดิร์น OS

สารบัญ ความหมายของซอฟต์แวร์ ประเภทของซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบัติการ การเลือกใช้ระบบปฏิบัติการให้เหมาะสม โปรแกรมอรรถประโยชน์ บทที่ 4 โมเดิร์น OS

Hardware และ Software บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software)

ฮาร์ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าประเภทหนึ่ง การที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำสิ่งต่างๆ ได้นั้น มีส่วนสำคัญอยู่ 2 ประการคือ Hardware (ฮาร์ดแวร์) Software (ซอฟต์แวร์) บทที่ 4 โมเดิร์น OS

Hardware (ฮาร์ดแวร์) Hardware (ฮาร์ดแวร์) ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ที่สามารถมองเห็นเป็นรูปธรรม สามารถจับต้องได้ เช่น จอภาพ หน่วยประมวลผล (CPU) หน่วยความจำ (เช่น RAM) คีย์บอร์ด เม้าส์ เครื่องพิมพ์ สาย LAN Router บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software)

Software (ซอฟต์แวร์) Software (ซอฟต์แวร์) หมายถึง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน หมายถึง ลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ความแตกต่างระหว่าง Software และ Hardware ซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ เป็นชุดคำสั่ง สัมผัสไม่ได้(นามธรรม) เป็นอุปกรณ์ สัมผัสได้ (รูปธรรม) เมื่อทำงานบนฮาร์ดแวร์แล้ว จะสั่งให้ฮาร์ดแวร์เริ่มทำงานเพื่อคิดคำนวณและทำงานเฉพาะอย่าง ใช้เก็บซอฟต์แวร์ และจำเป็นต้องมีเพื่อที่จะให้ซอฟต์แวร์ทำงาน ไม่เสื่อมตามเวลา เสื่อมตามอายุการใช้งาน บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ประเภทของซอฟต์แวร์ บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software)

ประเภทของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ระบบ (System software) ซอฟต์แวร์ที่ใช้จัดการกับระบบคอมพิวเตอร์พื้นฐาน ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application software) ซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้งาน บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ประเภทของซอฟต์แวร์ (ต่อ) Software System Application Operating Systems Utilities Basic Specialized บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ระบบปฏิบัติการ (OperatingSystems) บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software)

ระบบปฏิบัติการ เป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมจัดการฮาร์ดแวร์ ทำหน้าที่ในการเชื่อมการทำงานระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ประยุกต์ จัดการกระบวนการใช้ทรัพยากรระหว่างซอฟต์แวร์ประยุกต์และฮาร์ดแวร์ เป็นตัวกลางเชื่อมระหว่างผู้ใช้งานกับฮาร์ดแวร์ ผู้ใช้งาน ระบบปฏิบัติการ ฮาร์ดแวร์ บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ระบบปฏิบัติการ (ต่อ) บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ตัวอย่างของระบบปฏิบัติการของเครื่องแต่ละชนิด ชนิดของเครื่อง ระบบปฏิบัติการ เครื่อง Mainframe z/OS, z/VM, z/VSE, z/TPF เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC) Windows, OS X, Ubuntu, Chrome OS โทรศัพท์สมาร์ทโฟน Android, iOS, Windows Phone Raspberry Pi NOOBS, Raspbian, OSMC, Windows 10 IOT, RISC OS บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ตัวอย่างระบบปฏิบัติการที่ทำงานบน PC ระบบปฏิบัติการ (ต่อ) ตัวอย่างระบบปฏิบัติการที่ทำงานบน PC บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ประโยชน์ของระบบปฏิบัติการ ใช้งานง่าย และรวดเร็ว ใช้งานโปรแกรมได้พร้อมกันหลาย ๆ โปรแกรมได้ (Multitasking) ผู้ผลิตโปรแกรมสำหรับใช้งานเฉพาะด้านทำงานง่ายขึ้น บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ประวัติความเป็นมาของระบบปฏิบัติการ ช่วงแรกของระบบปฏิบัติการ (1955) ต้นทุนสูง ค่าแรงของคนมีราคาต่ำ ผู้ใช้เข้าถึงเครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้ทีละคน (Single-user system) ประมวลผลแบบต่อเนื่อง (Batch processing) เก็บหลาย ๆ งานในหน่วยความจำ สลับให้หน่วยประมวลผลมาทำงานแต่ละงาน บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ประวัติความเป็นมาของระบบปฏิบัติการ (ต่อ) ช่วงที่สองของระบบปฏิบัติการ (1970) ต้นทุนปานกลาง ค่าแรงของคนสูงขึ้น ระบบปฏิบัติการชื่อ TSS/360 ทำงานบนเครื่องเมนเฟรม อนุญาตให้คนเข้าใช้เครื่องได้พร้อม ๆ กัน (Timesharing) บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ประวัติความเป็นมาของระบบปฏิบัติการ (ต่อ) ช่วงที่สามของระบบปฏิบัติการ (1981 – ปัจจุบัน) ต้นทุนถูกลง ค่าแรงของคนสูง IBM ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ระบบปฏิบัติการชื่อ MS-DOS ไม่ซับซ้อนยุ่งยาก บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ประวัติความเป็นมาของระบบปฏิบัติการ (ต่อ) ช่วงที่สามของระบบปฏิบัติการ (1981 – ปัจจุบัน) หลังจากนั้น Apple ได้แนะนำเครื่อง Macintosh ระบบปฏิบัติการ Mac OS กราฟิกสำหรับผู้ใช้สั่งงาน (Graphical User Interface) บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ประวัติความเป็นมาของระบบปฏิบัติการ (ต่อ) ช่วงที่สามของระบบปฏิบัติการ (1981 – ปัจจุบัน) ปี 1983 Richard Stallman เริ่มโครงการ GNU เพื่อสร้างซอฟต์แวร์ที่สมบูรณ์ แจกฟรี บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ประวัติความเป็นมาของระบบปฏิบัติการ (ต่อ) ช่วงที่สามของระบบปฏิบัติการ (1981 – ปัจจุบัน) เมื่อปี 1985 Intel ผลิตหน่วยประมวลผล Intel 80386 โปรแกรมหลาย ๆ โปรแกรมทำงานได้พร้อม ๆ กัน (Multitasking OS) บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ประวัติความเป็นมาของระบบปฏิบัติการ (ต่อ) ช่วงที่สามของระบบปฏิบัติการ (1981 – ปัจจุบัน) ในปี 1991 Linus Torvalds กับเพื่อน ๆ นำเสนอเคอร์เนลรุ่นแรกของระบบปฏิบัติการ Linux โดยเปิดเผยคำสั่งภายในทั้งหมด ภายหลังได้รวมกับซอฟต์แวร์ระบบของ GNU บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ระบบปฏิบัติการ Unix ใช้กันมากในระบบคอมพิวเตอร์ที่มีผู้ใช้งานร่วมกันหลายราย (multiusers) โปรแกรมระบบนี้เขียนด้วยภาษาซี พัฒนาขึ้นโดยศูนย์วิจัยเบลล์ของบริษัท TT&T เริ่มใช้ตั้งแต่ปี 1960 ใช้ได้ทั้งกับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (ชนิด 32 บิต) มินิคอมพิวเตอร์ และเมนเฟรม บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ระบบปฏิบัติการ BSD พัฒนาและเผยแพร่โดย มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ ใช้กันแพร่หลายสำหรับคอมพิวเตอร์ระดับเวิร์คสเตชัน ปัจจุบันมีการปรับปรุงและพัฒนาโดยใช้โอเพนซอร์สโค้ดของบีเอสดีเป็นแกนหลัก สามารถมาลงกับ pc ทั่วไปและใช้งานเป็น server กันอย่างแพร่หลาย FreeBSD NetBSD บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ระบบปฏิบัติการ Solaris ใช้ได้กับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ แบบสปาร์ค และแบบ x86 รุ่นแรก ๆ ของโซลาริส ใช้ชื่อว่า ซันโอเอส (SunOS) โดยพื้นฐานมาจากยูนิกซ์ตระกูล BSD รุ่นที่ 5 เปลี่ยนมาใช้โค้ดของ ซิสเต็มส์ไฟว์ (System V) เปลี่ยนชื่อเป็น โซลาริส บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ระบบปฏิบัติการ Linux ระบบปฏิบัติการลินุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการ 32 บิต มีลักษณะเป็น multitasking และ multi-user มีส่วนติดต่อกับผู้ใช้ในทั้งสองรูปแบบ คือ Command line และ GUI จุดเด่น สามารถใช้ได้ในหลายแพลตฟอร์ม เป็นระบบปฏิบัติการที่ไม่จำเป็นต้องซื้อ (open source) สามารถดาวน์โหลดจากอินเทอร์เน็ตได้โดยตรง ลดค่าใช้จ่ายในเรื่องซอฟต์แวร์ ส่วนแบ่งทางการตลาดของระบบปฏิบัติการลินุกซ์จะอยู่ที่ 3% ในส่วนของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล 25% ในส่วนของการใช้ในเครื่องแม่ข่าย บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ระบบปฏิบัติการ Linux Linux Command Line Linux GUI บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ระบบปฏิบัติการ Windows พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟท์ นิยมใช้มากที่สุด ครองความนิยมในตลาดคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมากกว่า 90% ระบบปฏิบัติการตัวแรก คือ MS-DOS ไม่มีภาพกราฟิก ใช้การพิมพ์คำสั่งเข้าไป บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ระบบปฏิบัติการ Windows (ต่อ) คำสั่งที่ผู้ใช้ป้อน ผลลัพธ์ ระบบปฏิบัติการ MS-DOS บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ระบบปฏิบัติการ Windows (ต่อ) จากนั้นได้ออกระบบปฏิบัติการที่มีรูปภาพกราฟิก (GUI) สามารถทำงานได้หลายงานพร้อมกัน (Multitasking) ผู้ใช้งานคนเดียว (Single User) เช่น Windows XP , Windows NT, Windows 7, Windows 8, Windows 10 บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ระบบปฏิบัติการ Windows (ต่อ) Windows XP Windows NT บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ระบบปฏิบัติการ Windows (ต่อ) Windows 7 Windows 10 บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ระบบปฏิบัติการ Mac เครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอช (Macintosh) ของบริษัท Apple ใช้ระบบปฏิบัติการชื่อว่า แมคโอเอส เท็น (Mac OS X) กำเนิดจากระบบปฏิบัติการ UNIX เน้นการสร้างมัลติมีเดียสิ่งพิมพ์ ภาพ เสียง วิดีโอ ลักษณะการทำงานมีส่วนติดต่อกับผู้ใช้เป็น GUI มีลักษณะเป็น multi-tasking และ multi-user บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ระบบปฏิบัติการ Mac (ต่อ) Mac OS X บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ระบบปฏิบัติการ iOS ระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์พกพา พัฒนาโดยบริษัท Apple ระบบปฏิบัติการแบบ Single OS ไอโฟน, ไอพอดทัช, ไอแพด มีแอพพลิเคชั่นมากมายที่ให้ดาวน์โหลด ไม่อนุญาตให้นำ iOS ติดตั้งบนอุปกรณ์อื่นที่ไม่ใช่ของแอปเปิล บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ระบบปฏิบัติการ iOS (ต่อ)

ระบบปฏิบัติการ Android OS ระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์พกพา เริ่มพัฒนาโดยบริษัทแอนดรอยด์ มีรากฐานมาจาก Linux จากนั้นกูเกิลได้ซื้อแอนดรอยด์ไปพัฒนาต่อ โอเพนซอร์ส (Open Source) บทที่ 4 โมเดิร์น OS

ระบบปฏิบัติการ Android OS (ต่อ)

ระบบปฏิบัติการ Windows Phone พัฒนาโดยบริษัท Microsoft เป็นทางเลือกให้กับผู้ผลิตสำหรับนำไปใช้กับอุปกรณ์โมบาย ปัจจุบัน Microsoft ได้พัฒนา Windows 10 Mobile ถูกใช้แทน Windows Mobile และ Windows Phone บทที่ 4 โมเดิร์น OS

การเลือกใช้ระบบปฏิบัติการให้เหมาะสม บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software)

การเลือกใช้ระบบปฏิบัติการให้เหมาะสม ประเด็นต่าง ๆ ที่ควรคำนึงถึงก่อนเลือกระบบปฏิบัติการ เราเคยใช้ระบบปฏิบัติการมาบ้างหรือไม่ ? เราจะใช้ซอฟต์แวร์อะไรบนระบบปฏิบัติการ ? สังเกตเพื่อนร่วมงาน ครอบครัว หรือ เพื่อนที่โรงเรียนใช้อะไร ? เราต้องการระดับความปลอดภัยระดับใด ? เรามีงบประมาณเท่าไร ? บทที่ 4 โมเดิร์น OS

การเลือกใช้ระบบปฏิบัติการให้เหมาะสม (ต่อ) การเปรียบเทียบคุณลักษณะในด้านต่าง ๆ ของแต่ละระบบปฏิบัติการ คุณลักษณะ Windows OS X Linux GUI ดีมาก ดี ความนิยม เป็นที่รู้จัก เป็นที่รู้จักและใช้กันอย่าง แพร่หลายในประเทศไทย ปานกลาง เริ่มเป็นที่นิยม Virus มาก น้อย (เริ่มมากขึ้น) น้อย โปรแกรมสนับสนุน มีโปรแกรมที่ใช้เป็นมาตร ฐานอยู่มาก มีโปรแกรมหลากหลาย โปรแกรมที่ติดตั้งมาให้นั้น มีจำนวนมาก ครอบคลุมการใช้งาน แทบไม่ต้องเสียเงินซื้ออีก ปัจจุบันมีมากแล้ว ทำได้เหมือน Windows และ OS X บทที่ 4 โมเดิร์น OS

การเลือกใช้ระบบปฏิบัติการให้เหมาะสม (ต่อ) การเปรียบเทียบคุณลักษณะในด้านต่าง ๆ ของแต่ละระบบปฏิบัติการ คุณลักษณะ Windows OS X Linux Games มาก น้อย ราคา (รวมเครื่องและ OS) มีหลายระดับ สูง ฟรี ถ้าไม่รวมเครื่อง ลิขสิทธิ์ ของ Microsoft ของ Apple ฟรี (Open Source) บทที่ 4 โมเดิร์น OS

โปรแกรมอรรถประโยชน์ บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software)

โปรแกรมอรรถประโยชน์ คือโปรแกรมที่ช่วยอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ในการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เป็นโปรแกรมเสริมที่ต้องมีในเครื่องคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 โมเดิร์น OS

โปรแกรมอรรถประโยชน์ ประเภทการจัดแฟ้มข้อมูล (File Manager) โปรแกรมช่วยจัดการเกี่ยวกับแฟ้มข้อมูล เช่น การคัดลอก (Copy) การเปลี่ยนชื่อ (Rename) การแบ่งพาติชัน (Partition) การจัดรูปแบบดิสก์ (Format) File Manager บทที่ 4 โมเดิร์น OS

โปรแกรมอรรถประโยชน์ ประเภทการลบทิ้งโปรแกรม (Uninstall) โปรแกรมที่ช่วยลบโปรแกรมออกจากระบบปฏิบัติการ ทำหน้าที่ตามเอาแฟ้มข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโปรแกรมที่ต้องการลบออกทั้งหมด เช่น Add/Remove Programs ในส่วน Control Panel ของ Microsoft Windows Uninstaller บทที่ 4 โมเดิร์น OS

โปรแกรมอรรถประโยชน์ Disk Cleanup Disk Defragmenter โปรแกรมจัดการดิสก์ (Disk Utility) ใช้ในการจัดการปัญหาหรือแก้ไขให้ฮาร์ดดิสก์มีการทำงานที่ดีขึ้น เช่น Disk Cleanup คือ โปรแกรมกำจัดแฟ้มข้อมูลที่ไม่ต้องการจากเครื่อง Disk Defragmenter คือ โปรแกรมจัดระเบียบแฟ้มข้อมูลในฮาร์ดดิส Disk Cleanup Disk Defragmenter บทที่ 4 โมเดิร์น OS

โปรแกรมอรรถประโยชน์ โปรแกรมรักษาหน้าจอ (Screen Saver) ช่วยรักษาอายุการใช้งานของจอคอมพิวเตอร์ให้มีอายุการใช้งานมากยิ่งขึ้น Screen Saver บทที่ 4 โมเดิร์น OS

โปรแกรมอรรถประโยชน์ โปรแกรมป้องกันไวรัส ใช้ป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์และโปรแกรมอื่นที่เข้ามาสร้างความเสียหายให้กับระบบคอมพิวเตอร์ Anti-Virus บทที่ 4 โมเดิร์น OS

โปรแกรมอรรถประโยชน์ โปรแกรมบีบอัดแฟ้ม ใช้ลดขนาดของไฟล์ เพื่อลดเนื้อที่ในการจัดเก็บ ทำให้สามารถส่งไฟล์ทางอินเทอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพ File Compression บทที่ 4 โมเดิร์น OS

คำถาม บทที่ 4 โมเดิร์น OS