บัญญัติ 10 ประการ เพื่อการขับรถประหยัดเชื้อเพลิง คิดวางแผนก่อนเดินทางและ ไม่ควรติดเครื่องยนต์เดินเบาโดยไม่จำเป็น ออกรถและเร่งเครื่องอย่างนุ่มนวล เลือกใช้เกียร์ให้เหมาะสมกับความเร็วและการบรรทุก รักษาความเร็วรถให้สม่ำเสมอขณะขับขี่บนถนนปกติ รักษาความเร็วรถที่ 60 -70 กม./ชม.จะช่วยลดแรงต้านทานลมปะทะ ลดความเร็วรถ โดยปล่อยคันเร่ง เพื่อให้เครื่องยนต์ช่วยหน่วงความเร็ว ตรวจเช็คลมยางสม่ำเสมอ และรักษาลมยางให้ได้มาตรฐาน ทำความสะอาดไส้กรองอากาศอย่างสม่ำเสมอ เปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่องตามระยะที่กำหนด บรรทุกน้ำหนักที่เหมาะสม และไม่ควรปรับแต่งปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิงสูงกว่ากำหนด 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
การเตรียมการรถก่อนใช้งาน ตรวจสอบสิ่งกีดขวางรอบๆ ตัวรถ เอาที่รองล้อออก ตรวจสอบเบรกมือ ปรับเบาะนั่งและตำแหน่งพวงมาลัยให้เหมาะสม ปรับกระจกข้าง ซ้าย ขวา หน้า หลัง ล็อคประตู คาดเข็มขัดนิราภัย
การสตาร์ท เครื่องยนต์ เปิดสวิตซ์กุญแจในตำแหน่ง ON ปรับหัวคันเกียร์อยู่ในตำแหน่งว่าง เหยียบคลัตซ์ให้สุด กดแตร 1 ครั้ง การสตาร์ท เครื่องยนต์ ควรขึ้นนั่งก่อน
การออกตัวรถ ทดสอบเบรก ที่ความเร็วประมาณ 5-10 km/hr เหยีบคลัตซ์ ออก ตัวเกียร์ 1 เท่านั้น ออกด้วยความนุ่มนวล รอบปานกลาง (แถบสีเขียว) ทดสอบเบรก ที่ความเร็วประมาณ 5-10 km/hr
วิธีการพ่วงแบตเตอรี่ ที่ถูกต้อง สตาร์ท คันที่ไฟหมดทีหลัง เมื่อรถของท่านไฟไม่พอ ท่านสามารถสตาร์ตเครื่องยนต์ โดยการพ่วงสายแบตเตอรี่กับรถคันอื่น โดยต้อง : - ใช้รถที่มีแรงเคลื่อนแบตเตอรี่เท่ากัน - ต่อสายพ่วงแบตเตอรี่ตามลำดับ ดังต่อไปนี้ + 2 1 - ไฟหมด ไฟเต็ม 3 4 2 เข้าขั้วบวก (+) ของแบตเตอรี่ที่ไฟเต็ม 3 ต่อสายสีดำที่ขั้วลบ (-) ของแบตเตอรี่ไฟเต็ม 4 เข้ากับโครงแชสซีส์ของรถคันที่ไฟหมด 1 ต่อสายสีแดงที่ขั้วบวก (+) ของแบตเตอรี่ไฟหมด สตาร์ท คันที่ไฟหมดทีหลัง
OVERRUN คือ การที่รอบเครื่องยนต์หมุนเกินขีดจำกัดที่เครื่องยนต์จะรับได้ การเกิดเครื่องยนต์ OVER RUNNING OVERRUN คือ การที่รอบเครื่องยนต์หมุนเกินขีดจำกัดที่เครื่องยนต์จะรับได้ เกิดจากสาเหตุดังต่อไปนี้..!! ใช้เกียร์สูงลงเขา ปล่อยเกียร์ว่างลงเขาไหลลงมายาว เหยียบเบรกลงมายาว เบรกร้อนฉ่า..! เบรกก็…........ในที่สุด รถหนัก ลงมาเร็ว เอารถไม่อยู่
การป้องกันไม่ให้เครื่องยนต์ OVERRUN ใช้เครื่องยนต์เป็นตัวช่วยหน่วงความเร็วขณะขับรถลงเขาหรือทางลาดชันยาวๆ หรือการใช้ ENGINE BRAKE …นั่นเอง ยกเท้าออกจากคันเร่ง..! ใช้เกียร์ต่ำเท่านั้น เปิดเบรกไอเสียได้เลย รักษารอบเครื่องให้อยู่ในสีเขียว..!
ดึงเบรกมือ เป็นระยะๆ เพื่อ ลดความเร็ว กรณีฉุกเฉินเช่นเบรกแตกหรือยางระเบิด ห้าม กดแป้นเบรกทันที ควรปฏิบัติ ดังนี้ ยกเท้าออกจากคันเล่น จับพวงมาลัยให้แน่น เปิดเบรกไอเสีย ดึงเบรกมือ เป็นระยะๆ เพื่อ ลดความเร็ว เปลี่ยนเกียร์ต่ำลง
การลากรถ อย่างถูกวิธี (กรณีเครื่องสตาร์ทไม่ติด) ความเร็ว ในการลาก ไม่ควรเกิน 30 km/hr ระยะทางไม่ควรเกิน 10 km
ในกรณีที่ต้องการลาก รถบรรทุกฮีโน่ แต่ เครื่องยนต์ สตาร์ท ไม่ติด ส่งผลให้ไม่มีลมไปเติมในห้องหม้อลม สปริงเบรกซึ่งจะมีผลให้รถบรรทุกฮีโน่ที่ใช้ระบบเบรกแบบล้มล้วน เบรกถูกล็อกด้วยแรงดันสปริง จึงต้องมีการคลายโบทล์ล็อคที่หม้อลมสปริงเบรกแล้วจึงทำการลากรถ
หม้อลมเบรกแบบมีสปริง ห้องสปริง เบรก ก้านดัน สปริง ไดอะแฟรม สปริงเบรกช่อง เบรกลมช่อง ลูกสูบ ปลอก ห้องเบรกลม A B 11
ใช้ประแจขันคลายออกโดยหมุนทวนเข็มนาฬิกา
ขันโบล์ทล็อคสปริงออกมาให้สุดเพื่อคลายล็อคสปริงเบรก ประมาณ 62-75 มม. โบล์ทล็อคสปริง ล้อหน้า 62 มม. ล้อหลัง 75 มม. ขันโบล์ทล็อคสปริงออกมาให้สุดเพื่อคลายล็อคสปริงเบรก
ล้อถึงจะหมุนได้อย่างสะดวก ขันเกลียวทวนออกจนสุดความยาวคือ 65 ม.ม หรือ 6.5 ซ.ม ล้อถึงจะหมุนได้อย่างสะดวก
2. ก๊าซรั่ว ! ทำอย่างไร เมื่อตรวจพบก๊าซรั่วให้ทำการปฏิบัติตามขั้นตอน ต่อไปนี้ 1) จอดรถให้สนิท และดับเครื่องยนต์ 2) ปิดวาล์วเปิด-ปิดด้วยมือให้สนิท 3) ปิดวาล์วหัวถังทุกใบให้สนิท 4) ติดต่อศูนย์บริการฮีโน่ที่ใกล้ที่สุด
3. ข้อควรระวัง ! การเชื่อม 3. ข้อควรระวัง ! การเชื่อม
ขั้นตอนการถอดขั้วต่อกล่อง ECU รถ NGV 1.ถอดแผงคอนโซลด้านล่างออก 2. ใช้ประแจตัวทีขันน๊อต 2 ออก 3. ถอดฝาครอบคอนโซลบนออก 4. ดึงสลักล็อคออก 5. ดันฝาครอบล็อคด้านบนขึ้นเบาๆ
ขั้นตอนการใส่ขั้วต่อกล่อง ECU รถ NGV 1. ดันฝาครอบล็อคด้านบนลง 2. ดันสลักล็อคเข้าไป 3. ใส่ฝาครอบคอนโซลด้านบน 4. ใช้ประแจตัวทีขันล็อค 5. ใส่ฝาครอบคอนโซลด้านล่าง
3. ข้อควรระวัง ! ต่างๆ 2) ห้ามทำการปรับตั้ง และแก้ไขอุปกรณ์ต่างๆ ในระบบก๊าซใดๆ ทั้งสิ้น โดยไม่ได้รับความเห็นชอบจากบริษัทฮีโน่ฯ มิฉะนั้นจะทำให้รถสิ้นสุดการรับประกัน 3) ห้ามดึงเหยียบแขวน และวางสิ่งของทับถังก๊าซ และสายไฟเครื่องยนต์ 4) ห้ามติดตั้งอุปกรณ์ หรือวัตถุไวไฟใกล้ท่อไอเสียในระยะ 10 ซม. ห้ามเปิดวาล์วหัวถังเร็วเกิน 3 วินาที เพราะจะทำให้วาล์วล็อคได้ รถ HINO NGV ไม่มีเบรกไอเสีย ดังนั้นต้องระมัดระวังขณะลงทาง ลาดชันหรือลงเขา