งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การดำเนินงานภารกิจ ด้านอนุรักษ์พลังงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การดำเนินงานภารกิจ ด้านอนุรักษ์พลังงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การดำเนินงานภารกิจ ด้านอนุรักษ์พลังงาน
ประกอบ เอี่ยมสอาด สำนักกำกับและอนุรักษ์พลังงาน

2 ประหยัดพลังงานในอาคารสำคัญไฉน ...
ส่วนใหญ่ใช้ “ไฟฟ้า” อาคารภาคพาณิชยกรรม (เช่น โรงพยาบาล โรงแรม ห้างสรรพสินค้า โรงมหรสพ และสำนักงาน) มีเป็นหมื่นๆ แห่ง ทั่วประเทศ 5% 8% 15% 1,700 แห่ง ค่าไฟฟ้า 53,800 ลบ./ปี แต่มีอาคาร ขนาดใหญ่ 36% 36% 600 แห่ง ค่าไฟฟ้า 21,300 ลบ./ปี 35% เป็นอาคาร สำนักงาน ขนาดใหญ่ 40% 350 แห่ง ค่าไฟฟ้า 9,500 ลบ./ปี 58% อยู่ใน กทม. 44%

3 แผนอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี (ปัจจุบัน)

4 แผนอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี

5 แผนอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี
เป้าหมาย : ลด EI ลง 25% (38,200 ktoe)ภายในปี 2573 ( ) ktoe/พันล้านบาท อุตสาหกรรม (16,100 ktoe) ขนส่ง (15,100 ktoe) อาคารธุรกิจ ขนาดใหญ่ (3,600 ktoe) อาคารธุรกิจขนาดเล็กและบ้านอยู่อาศัย (3,400 ktoe) เพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต การกำหนดระบบมาตรฐานและควบคุมประสิทธิภาพการใช้พลังงาน (SEC ) 1.การบังคับใช้เกณฑ์มาตรฐานและติดฉลากประสิทธิภาพพลังงานสำหรับยานยนต์ 2. มาตรการทางภาษี 3. การสนับสนุนระบบขนส่งมวลชนและขนส่งสินค้าที่มีประสิทธิภาพพลังงานสูง การบังคับใช้เกณฑ์มาตรฐานประสิทธิภาพพลังงาน (BEC) การพัฒนาอาคารต้นแบบประหยัดพลังงาน การติดฉลากแสดงประสิทธิภาพของอาคาร การสนับสนุนเครื่องใช้/อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง มาตรการด้านราคาและภาษี 1.การสนับสนุนการติดฉลากประสิทธิภาพพลังงาน 2. การพัฒนาบ้านประหยัดพลังงานต้นแบบ 3. มาตรการด้านราคาและภาษี บูรณการร่วม บังคับ ส่งเสริม สนับสนุน 1.การบังคับใช้ พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน 2..การบังคับใช้เกณฑ์ (Energy Efficiency Resource Standard: EERS) สำหรับธุรกิจพลังงานขนาดใหญ่ 3. การบังคับใช้เกณฑ์มาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานขั้นต่ำ 1. การอนุรักษ์พลังงานแบบสมัครใจ (Voluntary Agreement:) 2. การส่งเสริมการสาธิตเทคโนโลยีประสิทธิภาพสูง 3. การส่งเสริมการพัฒนามืออาชีพด้านการอนุรักษ์พลังงาน 4. การส่งเสริมการลดปริมาณคาร์บอนในด้านเศรษฐกิจและสังคม 1.การใช้มาตรการทางราคาและภาษีเพื่อผลักดันการอนุรักษ์ พลังงานและลดก๊าซเรื่อนกระจก 2.การสนับสนุนด้านการเงินเพื่ออุดหนุนผลการประหยัดพลังงาน 3. การพัฒนาความสามารถของหน่วยงาน/องค์กรภาครัฐและเอกชน

6 กลุ่มเป้าหมายในการดำเนินงานของ พพ.
มาตรการกฎหมาย มาตรการ พัฒนาบุคลากร/ ประชาสัมพันธ์ มาตรการส่งเสริมและสนับสนุน กลยุทธ์การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ผู้บริโภคพลังงานหลักของประเทศ ภาคอุตสาหกรรม/ ธุรกิจการค้า/โรงงาน/อาคารควบคุม จำนวน 8,000 แห่ง โรงงาน/อาคาร SME ประมาณ 1 แสนราย บ้านอยู่อาศัยประมาณ 22 ล้านครัวเรือน พพ. กลุ่มเป้าหมายมีการใช้พลังงาน 44,376 ktoe หรือประมาณ 60% ของการใช้พลังงานทั้งประเทศ

7 มาตรการขับเคลื่อนการอนุรักษ์พลังงานของ พพ.
ด้านกฏหมาย กำกับดูแลโรงงาน/อาคารควบคุม การออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน (Building Energy Code) มาตรฐานเครื่องจักร อุปกรณ์ประหยัดพลังงาน MEPS มาตรการด้านส่งเสริมสนับสนุน สิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ESCO Fund การให้เงินสนับสนุนให้เปล่า (Direct Subsidy) การติดฉลากอุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง HEPS มาตรการพัฒนาบุคลากรและประชาสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์ Award เผยแพร่เทคโนโลยี Energy Display Center พัฒนาและฝึกอบรมบุคลากร

8 กำกับดูแลการจัดการพลังงานในโรงงาน/อาคารควบคุม
มาตรการ ด้านกฏหมาย กำกับดูแลการจัดการพลังงานในโรงงาน/อาคารควบคุม ผลประหยัดเฉลี่ย ปีละ 3 %

9 สถานภาพของการบังคับใช้กฎกระทรวง
มาตรการ ด้านกฏหมาย กฎกระทรวงกำหนดประเภทหรือขนาดอาคารและมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการในการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2552 เพื่อกำหนดมาตรฐานของอาคารที่จะก่อสร้างใหม่หรือดัดแปลง มีการออกแบบให้มีการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ “บังคับใช้กับอาคาร 9 ประเภท ขนาดตั้งแต่ 2,000 ตร.ม. ขึ้นไป” สถานภาพของการบังคับใช้กฎกระทรวง คณะกรรมควบคุมอาคารแจ้ง ไม่เห็นชอบ (14 ม.ค. 2558) New นำร่องบังคับใช้กับอาคารภาครรัฐ ตั้งแต่ปี 57 การดำเนินงานที่ผ่านมา จัดตั้งศูนย์ประสานงานการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน สร้างเครือข่ายความร่วมมือ ฝึกอบรมบุคลากรทั้งด้านการตรวจสอบแบบและด้านการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน 1,150 คน ศักยภาพการประหยัดที่เกิดขึ้น ประหยัดไฟฟ้า 152 ล้านหน่วย/ปี คิดเป็น ktoe/ปี เป็นเงินมูลค่า 533 ล้านบาท/ปี ลด CO2 88,000 ตัน/ปี ผลที่ได้การตรวจประเมินแบบอาคาร (ปี52–57) จำนวนทั้งสิ้น 347 แบบ ผ่านเกณฑ์การใช้พลังงานรวม (ทั้งหมด 100%) ไม่ผ่านเกณฑ์รายระบบ คิดเป็น ภาครัฐ 71% และ ภาคเอกชน 57%

10 มาตรฐานประสิทธิภาพอุปกรณ์ Framework of EES&L Measures
มาตรการ ด้านกฏหมาย มาตรฐานประสิทธิภาพอุปกรณ์ Framework of EES&L Measures MEPS: Minimum Energy Performance Standards HEPS: High Energy Performance Standard มีทั้งภาคสมัครใจ (voluntary) และภาคบังคับ (mandatory) ความร่วมมือระหว่าง พพ. (DEDE) และ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม –สมอ. (TISI) พพ. ศึกษามาตรฐานฯ กำหนดกฎกระทรวง และเส่นอให้ สมอ.ประกาศใช้บังคับกับผู้ผลิตอุปกรณ์ โครงการแบบสมัครใจ (voluntary program) ความร่วมมือระหว่าง พพ. และ กฟผ. (EGAT) มาตรฐานกำหนดโดย พพ. การติดฉลากโดย กฟผ. และ พพ. Electric Labelling Non-Electric Labelling TISI: Thailand Industrial Standard Institute, EGAT: Electricity Generating Authority of Thailand

11 สถานภาพมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (MEPS)
มาตรการ ด้านกฏหมาย สถานภาพมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (MEPS) ปัจจุบัน พพ. ได้ดำเนินการส่งร่างมาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานขั้นต่ำหรือร่างมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เฉพาะด้านประสิทธิภาพพลังงาน(MEPS) ให้ สำนักงาน มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) แล้ว จำนวน 43 ผลิตภัณฑ์ สมอ. ประกาศเป็นมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมฯ แล้วจำนวน 18 ผลิตภัณฑ์ 1) เครื่องปรับอากาศ ) หม้อหุงข้าวไฟ 2) ตู้เย็น ) เตาไฟฟ้า 3) หลอดคอมแพกต์ฯ : หลอดมีบัลลาสต์ในตัว ) เตารีดไฟฟ้า 4 ) หลอดคอมแพกต์ฯ : หลอดฟลูออเรสเซนต์ขั้วเดี่ยว 13) เตาไมโครเวฟ 5) มอเตอร์ 3 เฟส ) กาต้มน้ำไฟฟ้า 6) เตาแก๊ส LPG ) ตู้แช่เย็นพาณิชย์ 7) หลอดฟลูออเรสเซนต์ขั้วคู่ ) รถจักรยานยนต์ 8) ฉนวนใยแก้ว ) บัลลาสต์ขดลวด 9) เครื่องยนต์ดีเซลขนาดเล็ก 1 สูบ ) บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ 11 11

12 มาตรการด้านส่งเสริมสนับสนุน
สิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน (กรมสรรพากร) เงื่อนไขการสนับสนุน จัดซื้อและเป็นของใหม่ (ต้องบันทึกเป็นทรัพย์สิน) เป็นวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักร ที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน ที่ตรงตามรายการอุปกรณ์ที่ พพ ให้การรับรอง ตรวจสอบได้ที่

13 มาตรการด้านส่งเสริมสนับสนุน
โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ให้การสนับสนุนเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำไม่เกินร้อยละ 4 ต่อปี ผ่านสถาบันการเงินในโครงการอนุรักษ์พลังงาน และพลังงานทดแทน

14 มาตรการด้านส่งเสริมสนับสนุน
ESCO Fund ESCO FUND ผลการดำเนินงาน 1. เฟสที่ 1 (ต.ค.51-ก.ย. 53) เงินสนับสนุน ล้านบาท (EFE 250+ ECFT 250) จำนวนโครงการทั้งหมด 31 โครงการ 2. เฟสที่ 2 (ต.ค.53-มี.ค.56) เงินสนับสนุน ล้านบาท (EFE 300+ ECFT 200) จำนวนโครงการทั้งหมด 72 โครงการ 3. ปัจจุบันกำลังดำเนินการเฟสใหม่ พพ. ได้รับการจัดสรรเงินกองทุนเพื่อการอนุรักษ์พลังงานจำนวน 500 ล้านบาท เพื่อจัดตั้งโครงการ ESCO Fund ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ การส่งเสริมให้เกิดการลงทุนด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ลักษณะการส่งเสริมก็จะประกอบไปด้วย 6 ช่องทาง ดังต่อไปนี้ 1-6 โดย ช่องทางได้รับความนิยมมากที่สุดคือ การเช่าซื้ออุปกรณ์ และ การเข้าร่วมลงทุนในส่วนหุ้นของโครงการ - การเช่าซื้ออุปกรณ์ก็จะให้การสนับสนุนได้ถึง 100% ต่อโครงการ แต่จะไม่เกิน 10 ล้านบาท มีระยะเวลาการผ่อนชำระคือ 5-7 ปี โดยคิดดอกเบี้ยคงที่ 4% ต่อปี - การร่วมลงทุนในโครงการ ซึ่งจะเข้าร่วมลงทุนได้ 10%-50% ของมูลค่าโครงการทั้งหมด แต่จะไม่เกิน 50 ล้านบาท ระยะเวลาร่วมทุนคือ 5-7 ปี และก็จะค่อยๆ ขายหุ้นคืนให้กับเจ้าของกิจการ หรือหาผู้ร่วมทุนรายใหม่มาแทน ให้กล่าวถึงผลการดำเนินงาน ปัจจุบันก่อให้เกินการลงทุนด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานแล้วไม่น้อยกว่า 6 พันล้านบาท ที่มา : และ 14

15 มาตรการด้านส่งเสริมสนับสนุน
โครงการส่งเสริมประสิทธิภาพพลังงาน ภาคอาคารธุรกิจและอุตสาหกรรม 2558 ลักษณะการดำเนินการ ผู้มีสิทธิ์ขอสนับสนุน: สถานประกอบการที่เป็นนิติบุคคล สนับสนุนร้อยละ 20 (SME ร้อยละ 30) ของแต่ละมาตรการมาตรฐานและมาตรการเชิงลึก เช่น การปรับปรุง ปรับเปลี่ยนเครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์ เครื่องทำน้ำเย็น (Chiller) อุปกรณ์ปรับความเร็วรอบมอเตอร์ที่ใช้กับเครื่องสูบน้ำ มอเตอร์ประสิทธิภาพสูง สนับสนุนสูงสุดไม่เกิน 3 ล้านบาทต่อราย ระยะคืนทุนไม่เกิน 7 ปี โครงการส่งเสริมวัสดุและอุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน (เงินช่วยเหลือให้เปล่า 20%) สนับสนุนร้อยละ 20 ของแต่ละมาตรการมาตรฐานและมาตรการเชิงลึก (เช่น มาตรการบัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ความถี่สูง อุปกรณ์ปรับความเร็วรอบมอเตอร์ที่ใช้กับเครื่องสูบน้ำ มอเตอร์ประสิทธิภาพสูง) ไม่ต่ำกว่า 50,000 บาทต่อราย สูงสุดถึง 3 ล้านบาทต่อราย ระยะคืนทุนไม่เกิน 7 ปี ปี มาตรการอนุรักษ์พลังงานที่อนุมัติการสนับสนุนแล้ว ผลการดำเนินงาน มาตรการ 316 มาตรการ สถานประกอบการ 232 ราย เงินให้การสนับสนุนรวม ล้านบาท เกิดผลประหยัด ktoe/ปี ผลประหยัดพลังงาน ( ktoe/ปี) ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 รวม 10.6 14.2 2.1* 26.90

16 มาตรการด้านส่งเสริมสนับสนุน
มาตรฐานอุปกรณ์และการติดฉลาก (HEPS) จัดทำร่างกฎกระทรวง จำนวน 54 ผลิตภัณฑ์ ผ่านการพิจารณาคณะอนุกรรมการมาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานแล้ว จำนวน 47 ผลิตภัณฑ์ จัดทำเป็นกฎกระทรวงฯ และประกาศกระทรวง แล้ว จำนวน 8 ผลิตภัณฑ์

17 มาตรการพัฒนาบุคลากรและประชาสัมพันธ์
การประชาสัมพันธ์ / Award “Thailand Energy Awards” นโยบายที่ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนเกิดการรับรู้ถึงการ อนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน (raise awareness) เป็นโครงการที่ประสบความสำเร็จอย่างสูง (Roll Model) ผู้ได้รับรางวัลเป็นตัวแทนประเทศเข้าประกวด ASEAN Energy Awards “ASEAN Energy Awards” 17 17 17

18 มาตรการพัฒนาบุคลากรและประชาสัมพันธ์
Energy Display Center การเผยแพร่เทคโนโลยีผ่าน Energy Display Center ประกอบด้วย 54 เทคโนโลยี และอาคารฝึกอบรมภาคปฏิบัติด้านการจัดการพลังงาน (Mini Plant) ศูนย์แสดงเทคโนโลยีประกอบด้วย - ภาคอุตสาหกรรม 37 เทคโนโลยี - ภาคอาคารธุรกิจ 10 เทคโนโลยี ภาคอาคารบ้านอยู่อาศัย 7 เทคโนโลยี ผู้เข้าเยี่ยมชม ประมาณ 12,000 คน/ปี

19 มาตรการพัฒนาบุคลากรและประชาสัมพันธ์
- การพัฒนาและฝึกอบรมบุคลากร การฝึกอบรมผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฎหมาย การพัฒนาและฝึกอบรมบุคลากรด้านพลังงาน ทั้งด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน รวม 32,000 คน/ปี - การอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วมใน SME มุ่งเน้นให้มีการปรับปรุงมาตรการอนุรักษ์พลังงานที่ง่าย ให้ผลตอบแทนเร็ว ไม่ต้องลงทุนหรือลงทุนน้อย ระยะคืนทุนสั้น 19

20 ผลการดำเนินงานในส่วนโครงการหลักของ พพ. (ช่วงปี 2554 – 2556)
ผลประหยัดพลังงาน ( ktoe/ปี) ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 รวม มูลค่าล้านบาท โครงการอนุรักษ์พลังงานตามกฎหมายในโรงงาน/อาคารควบคุม 336 471 614 1,421 35,525 2. โครงการติดฉลากอนุรักษ์ พลังงานในวัสดุ/อุปกรณ์ 53.4 66.4 119.80 2,995 3. โครงการส่งเสริมการลงทุนฯ ESCO Fund 22.87 2.73* 25.60 640 4. โครงการสนับสนุนการลงทุนฯ (Subsidy 20%) 10.6 14.2 2.1* 26.90 672.5 5. โครงการอาคารออกแบบเพื่อ การอนุรักษ์พลังงาน (BEC) 2.6 3.3 5.90 147.5 6. โครงการส่งเสริมอนุรักษ์พลังงานด้วย กลไก ESCO 9.59 21.89 25.43 56.91 1,422.75 7. โครงการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานใน SMEs 5.76 1.12 5.45 12.33 308.25 1,668 41,711 หมายเหตุ: *โครงการ ESCO Fund และโครงการ Subsidy 20% ในปี 2556 มีการยุติโครงการก่อนกำหนด 20 20

21 มาตรการหลักที่ต้องการผลักดัน
มาตรการ/โครงการ ปัญหา/อุปสรรค แนวทางที่จะดำเนินการ บทกำหนดโทษตาม พรบ. ไม่เหมาะสมที่จะใช้กับอาคารภาครัฐ โรงงานอาคารควบคุม ขาดแคลนบุคลากรในการ ดำเนินการตามกฎหมาย ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายให้เหมาะสม จัดทำโปรแกรมพัฒนาบุคลากรเพิ่มมากขึ้น 1. การกำกับดูแลโรงงาน/อาคาร ควบคุมตามกฎหมาย นำร่องบังคับใช้กับภาครัฐ เสนอแก้ไขกฎหมายอนุรักษ์ให้มีสภาพบังคับด้วยตนเอง 2. การบังคับใช้มาตรฐาน BEC 3. คณะกรรมการควบคุม อาคารไม่เห็นชอบทำให้ กฎหมายไม่สามารถบังคับ ใช้ได้ เพิ่มมาตรสนับสนุนด้านเงินลงทุนให้มากขึ้น สนับสนุนธุรกิจ Esco ให้ภาคเอกชนสามารถดำเนินการได้ด้วยตนเอง สนับสนุนมาตรการด้านภาษี 3. มาตรการสนับสนุนด้าน การลงทุน 4. ขาดความต่อเนื่องและไม่ เพียงพอต่อการจูงใจ ปัจจุบันอยู่ระหว่างการศึกษาปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องรวมทั้งการกำหนดแนวทางดำเนินงาน 4.การผลักดันการอนุรักษ์พลังงานในหน่วยงานราชการด้วยกลไก ESCO 5. กฎระเบียบปัจจุบันไม่เอื้อให้ดำเนินการได้

22 แผนอนุรักษ์พลังงานใหม่ (2558-2579)
ลด EI 30% จากปี 2553 60,000 80,000 100,000 120,000 140,000 160,000 180,000 200,000 220,000 ลด 25% ลด 30% EI (2010) 15.6 Ktoe/Billion Bath EI (2030) 11.7 EI (2036) 10.9 71,166 162,715 124,515 38,200 202,000 144,600 57,400 2010 2553 2030 2573 2036 2579 ปริมาณการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย (ktoe) Page 22

23 แผนอนุรักษ์พลังงานใหม่ (2558-2579)

24 ขอขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt การดำเนินงานภารกิจ ด้านอนุรักษ์พลังงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google