งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ครูในยุคปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สอง (พ.ศ )

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ครูในยุคปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สอง (พ.ศ )"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ครูในยุคปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552-2561)
ในทศวรรษที่สอง (พ.ศ ) นิตย์ พรหมประสิทธิ์ ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 2

2

3 ศตวรรษที่ 21 ต่างจาก ศตวรรษที่ 20 หรือ 19
สังคมเปลี่ยนแปลงเร็ว มนุษย์เปลี่ยน ความรู้เปลี่ยน ความรู้แบบ explicit (ความรู้ชัดแจ้ง/ทฤษฎี เอกสาร) หาง่าย ความรู้แบบ tacit (ความรู้แบบฝังลึก/ประสบการณ์/ ทักษะ ความเชี่ยวชาญ) หายาก

4 ความจริงของศตวรรษที่ 21
* การเรียนรู้ต้องเปลี่ยน  การศึกษาจะต้องเน้นที่ learning skill การเรียนรู้ควรเน้นการทำ การเรียนเกิดจากการฟัง 20% และการทำ 70-80% ครูต้องไม่เน้นสอน เน้นออกแบบการเรียนรู้ เน้นสร้างแรงบันดาลใจ เน้นเป็นโค้ช เป็นครูฝึกไม่ใช่ครูสอน  ที่ทำให้เกิดการเรียนรู้ที่ดีที่สุดคือสอนคนอื่น รองลงมาคือการทำ  ครูฝึกอะไร ฝึกอะไร ฝึกการเรียนรู้ของลูกศิษย์ * จุดสำคัญที่สุดของการเป็นครู คือ การสร้างแรงบันดาลใจ

5 Education Pitfalls (หลุมพลางของการจัดการศึกษา)
จัดตามความเคยชินในอดีต - คิดว่าสอนคือเรียน - คิดว่าสอนครบคือเป้าหมาย - คิดว่าสอนวิชา/ทฤษฎี เป็นรากฐานสำหรับอนาคต - คิดว่าวางฐานทฤษฎีก่อน ตามด้วยฝึกปฏิบัติ วิธีที่ถูกต้องคือ ต้องฝึกปฏิบัติให้เร็วที่สุด เพราะจะเป็นการกระตุ้นความอยากเรียน

6 คุณลักษณะของครูยุคปฏิรูปการศึกษา
1. มีความรู้ ความเข้าใจหลักสูตร 2. มีความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เกิดผลถาวรแก่ศิษย์ 3. พัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนสำคัญที่สุด 4. มีความสามารถในการเสริมสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ สามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียนรู้ และเอื้ออำนวยความสะดวก พัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพอย่างมีความสุข 5. มีความสามารถในการวัดและประเมินผลผู้เรียนตามสภาพจริง ใช้วิธีการวัดผลและประเมินผลที่หลากหลาย 6. มีความสามารถในการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้สามารถทำวิจัยในชั้นเรียน เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน

7 บทบาทหน้าทีของครูปฏิรูปการศึกษา
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ หมวด 4 ว่าด้วยแนวการจัดการศึกษา มาตรา 22 ระบุว่า “ การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ” สามารถสรุปเป็นสาระสำคัญได้ 3 ประการ คือ 1) ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาได้ 2) ถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด 3) กระบวนการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ

8 การเรียนการสอนให้สอดคล้องกับสาระสำคัญ 3 ประการ
ประการแรก การจัดการศึกษาจะต้องเป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 4 ในเรื่องศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ และเสรีภาพของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง ครูจึงต้องมีวิถีทางที่จะพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ คิดเป็น ทำเป็น พึ่งตนเองได้ ดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุขและสามารถทำคุณประโยชน์ให้แก่สังคมและประเทศชาติได้ ประการที่สอง การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ถือว่าผู้เรียนเป็นสำคัญ ประการที่สาม การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพครูต้องให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเสนอ กิจกรรมและลงมือปฏิบัติด้วยตนเองทุกขั้นตอน

9 บันได 5 ขั้นของการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียน
Learning to serve Learning to communicate Learning to construct Learning to search Learning to question

10 คำคมการศึกษา : การศึกษากับการเปลี่ยนแปลง
ประวัติศาสตร์ของมวลมนุษย์ชาตินั้น เป็นกระบวนการวิ่งไล่กวดระหว่าง ความหายนะกับการศึกษา หากการศึกษาก้าวไม่ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก ความหายนะก็คงมาถึงมวลมนุษย์ในที่สุด เอช จี เวลส์และอาร์โนลด์ ทอยน์บี : นักประวัติศาสตร์ชาวอังกฤษ

11 เส้นทางสู่ความก้าวหน้าในวิชาชีพ

12 รวมทั้งวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา ศึกษานิเทศก์
วิชาชีพครู รวมทั้งวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา ศึกษานิเทศก์

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31 การพัฒนาผลงานวิชาการ
งานในหน้าที่ของท่านมีอะไรบ้าง งานดังกล่าวมีปัญหาอะไร ปัญหาใดที่มีผลกระทบมากและสถานศึกษาของท่านมีศักยภาพที่จะดำเนินการได้ จะใช้นวัตกรรมใดแก้ปัญหา

32

33 จบการนำเสนอ Thank You !


ดาวน์โหลด ppt ครูในยุคปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สอง (พ.ศ )

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google