งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นโยบายและการส่งเสริมการใช้ Open Source Software ในหน่วยงานภาครัฐ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นโยบายและการส่งเสริมการใช้ Open Source Software ในหน่วยงานภาครัฐ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นโยบายและการส่งเสริมการใช้ Open Source Software ในหน่วยงานภาครัฐ
นางเมธินี เทพมณี ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

2 ความเป็นมา กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2545 ภายใต้ พรบ.ปรับปรุงกระทรวงทบวง กรม พ.ศ. 2545 อำนาจหน้าที่ : วางแผนส่งเสริม พัฒนา และดำเนินการเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การอุตุนิยมวิทยา และการสถิติ หน่วยงานในสังกัด : ประกอบด้วย 7 หน่วยงาน ส่วนราชการ หน่วย (สป.ทก., อต., สสช.) รัฐวิสาหกิจ หน่วย (TOT ,CAT ,ปณท.) องค์การมหาชน หน่วย (SIPA)

3 กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ
โครงสร้างกระทรวง กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานรัฐมนตรี ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน โครงสร้างกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวง กรมอุตุนิยมวิทยา สำนักงานสถิติแห่งชาติ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) บริษัทไปรษณีย์ไทย จำกัด สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) 4

4 พันธกิจ เสนอแนะและดำเนินการนำนโยบายของรัฐบาลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม 1 ส่งเสริมให้ประเทศไทยมีบทบาทในภูมิภาคอาเซียนในการเป็นศูนย์กลางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2 ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในทุกภาคส่วนเพื่อการพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ 3 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อเพิ่ม ศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของประเทศไทย 4 ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5 6 ติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

5

6

7 มูลค่าตลาด ICT ประเทศไทย ปี 2550

8 มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ไทย ปี 2550

9 เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2551
นโยบายรัฐบาลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2551 นโยบายรัฐบาลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และอุตสาหกรรมที่ เกี่ยวข้องด้านบริการความรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และจัดให้มีกลไก สนับสนุนแหล่งทุนสำหรับผู้ประกอบธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศ ขนาดกลางและขนาดย่อม รวมทั้งพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพได้ มาตรฐานและสอดคล้องกับความต้องการของตลาด เพื่อผลักดันให้ ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารในภูมิภาค

10 ร่างวิสัยทัศน์ พันธกิจ และประเด็นยุทธศาสตร์ ของแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ 10

11 วิสัยทัศน์-พันธกิจ-วัตถุประสงค์
พัฒนากำลังคนที่มี คุณภาพและ ปริมาณเพียงพอ พัฒนาโครงข่าย ICT ความเร็วสูง พัฒนาระบบบริหาร จัดการ ICT ที่มี ธรรมาภิบาล วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มปริมาณและศักยภาพของกำลังคน ICT สร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ ICT สนับสนุนการปรับโครงสร้างการผลิต สร้างความเข้มแข็งของชุมชนและปัจเจกบุคคล สร้างศักยภาพของธุรกิจและอุตสาหกรรม ICT วิสัยทัศน์ “Smart Thailand” … % of Thais to have Information Literacy Increase ICT industry contribution to GDP Enhance ICT Readiness, e-Government Performance in international rankings

12 SMART Thailand Our Strategies
ICT for Competitiveness (Strategic industries, SMEs) ICT Infrastructure E-Governance ICT Industry National ICT Management Framework (Institutional arrangement, Rules and Regulation, Financing, …) Human Resources (ICT Professionals and “Information-Literate” People)

13 ประเด็นยุทธศาสตร์ การพัฒนากำลังคนด้าน ICT และบุคลากรในทุกวิชาชีพที่มีความสามารถในการใช้ สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและรู้เท่าทัน (Information Literacy) 1 การสร้างธรรมาภิบาลในระบบบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (National ICT Management Framework 2 3 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อให้เกิดธรรมาภิบาลในการบริหารและการบริการของภาครัฐ (e-Governance) 4 ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม ICT (ICT Industry Competitiveness) เพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและรายได้เข้าประเทศ 5 6 การใช้ ICT เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน (ICT for Competitiveness)

14 ยุทธศาสตร์ที่ 5: ยกระดับขีดความสามารถของอุตสาหกรรม ICT

15 กรอบยุทธศาสตร์ และผลลัพธ์ตาม (ร่าง) แผนแม่บท ICT ประเทศไทย ฉบับที่ 2 พ
กระจายโอกาส เพื่อความยั่งยืน สังคมคุณภาพ ศักยภาพ และการแข่งขัน ผลลัพธ์ในภาคเศรษฐกิจอื่น ทรัพย์สินทางปัญญา ทุนทางปัญญา มูลค่าเพิ่มในผลิตภัณฑ์และบริการที่สูงขึ้น Mass customization การอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน/ภาคเอกชน การลดค่าใช้จ่ายของภาคเอกชน ลดความสูญเสียจากการทำงานที่ขาดความโปร่งใส ความทั่วถึงและเท่าเทียมกันในการเข้าถึงสารสนเทศ โอกาสทางการศึกษาและสุขภาพที่ดีของประชาชน ทรัพยากรมนุษย์ที่มีความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม 4. ใช้ ICT เพื่อช่วยสร้างธรรมาภิบาลของภาครัฐ 5. พัฒนาอุตสาหกรรม ICT 6. ใช้ ICT ในภาคการผลิตและบริการที่เป็นยุทธศาสตร์ของประเทศ 2. บริหารจัดการ ICT อย่างมีธรรมาภิบาล (ICT Governance) eGovernance is "superstructure", so it is on top. 3. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 1. พัฒนากำลังคน (ICT Professionals & ICT literate people) 15 15

16 มาตรการส่งเสริม Open Source
ตาม (ร่าง) แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ “สนับสนุนให้เกิดชุมชนของผู้พัฒนาในสาขาต่าง ๆ อาทิ Open Source Software/Embedded Software ทั้งนี้รวมถึงการมี กลไกสนับสนุนให้บุคลากรนักพัฒนาของไทย สามารถเข้า ร่วมโครงการระดับโลก (International Forum) ได้ เพื่อสร้าง ให้เกิดการวิจัยพัฒนาต่อยอดเทคโนโลยี และทำให้เกิดความ เข้มแข็งของบุคลากร ICT ไทย”

17 Open Source Software ปัจจุบันองค์กรหลายแห่งในประเทศไทยมีการใช้โปรแกรม Open Source Software เป็นเครื่องมือหลักในด้านธุรกิจ และสามารถใช้งาน ได้เป็นอย่างดี มีเสถียรภาพสูง เป็นสิ่งที่ยืนยันได้ว่า โปรแกรม Open Source Software เป็นทางเลือกที่เป็นไปได้

18 คำตอบสุดท้ายในการเลือก Open Source Software
ลดการละเมิดลิขสิทธิ์ ลดภาระงบประมาณรายจ่ายในการซื้อซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์ เพิ่มทางเลือกของการใช้ซอฟต์แวร์ พัฒนาฝีมือ ทักษะของโปรแกรมเมอร์และผู้ใช้งาน มีอิสระในการกำหนดทิศทางการพัฒนาต่อยอดซอฟต์แวร์ใหม่

19 ตัวอย่าง Open source software ในกลุ่ม Desktop Application ที่สามารถนำมาใช้แทนซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ได้
Open Office เทียบเท่า Microsoft Office Mozilla Firefox เทียบเท่า Internet Explorer GIMP เทียบเท่า Adobe Photoshop Mozilla Thunderbird เทียบเท่า Microsoft Outlook Express Lnkscape เทียบเท่า Adobe llustrator PDFCreator เทียบเท่า Adobe Arcobat OpenProj เทียบเท่า Microsoft Project

20 นโยบายรัฐบาลของประเทศต่าง ๆ
ฮ่องกง BSA ได้ทำงานร่วมกับ Custom & Excise Department และ the Intellectual Property Department ในการรณรงค์ส่งเสริมในการตรวจสอบซอฟต์แวร์ที่ใช้ใน องค์การต่าง ๆ ของภาครัฐ ช่วยให้การละเมิดลิขสิทธิ์ลดลง อินเดีย มีการผลักดันในการใช้ Broadband ในการต่อเชื่อม PCs ควบคู่ไปกับการให้การศึกษาและความพยายามในการ บังคับใช้ซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์ ซึ่งจะเป็นการช่วยในการผลักดัน ซอฟต์แวร์ที่อินเดียได้พัฒนาออกสู่ตลาดซอฟต์แวร์

21 นโยบายรัฐบาลของประเทศต่าง ๆ (ต่อ)
ญี่ปุ่น ด้วยการสนับสนุนของ Ministry of Education, Culture, Sports and Science & Technology โดยที่ BSA ได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยจัดทำโปรแกรมในการช่วยสร้าง ความตระหนักเกี่ยวกับ Software asset management เพื่อ ช่วยผลักดันซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์ และสร้างความตระหนักใน เรื่องลิขสิทธิ์ มาเลเซีย รัฐบาลได้...กับภาคธุรกิจที่ใช้ซอฟต์แวร์ผิด กฎหมาย และได้รณรงค์ให้มีการศึกษาร่วมกับ BSA ใน โครงการ “Sikap Tulen” เพื่อความพยายามในการเปลี่ยน ความคิดของผู้บริโภคให้หันมาใช้ซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์

22 หลักเกณฑ์การพิจารณางบประมาณของหน่วยงานภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
หลักเกณฑ์และแนวทางการพิจารณางบประมาณ ปี 2552 การ จัดซื้อจัดจ้างระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารตามประเด็นที่ เกี่ยวข้องกับโปรแกรมสำนักงานสำเร็จรูป ....ข้อ1.2 ชุดโปรแกรมสำนักงานสำเร็จรูป(Office Application) ในการดำเนินการจัดหาชุดโปรแกรมสำนักงานสำเร็จรูป ให้พิจารณาจัดหาซอฟท์แวร์ลิขสิทธิ์เพียงร้อยละ 80 ของจำนวนที่ขอจัดหา โดยในส่วนที่เหลือร้อยละ 20 ให้หน่วยงานใช้ซอฟท์แวร์รหัสเปิด (Open Source Software) เพื่อเป็นการลดภาระงบประมาณรายจ่าย ที่มา : สำนักงบประมาณ

23 พันธมิตรร่วมในการสนับสนุน

24 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt นโยบายและการส่งเสริมการใช้ Open Source Software ในหน่วยงานภาครัฐ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google