งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตด้วยกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ (รสอ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตด้วยกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ (รสอ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตด้วยกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ (รสอ
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตด้วยกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ (รสอ.) District Health System: DHS

2 ทำไมต้อง DHS ?? ปัญหาสาธารณสุข ไม่สามารถแก้โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพียงด้านเดียว ตัวชี้วัดมากมาย ซ้ำซ้อน มุ่งแต่จะตอบตัวชี้วัด ขาดหัวใจในการทำงาน บริบทต่างกัน ตัดเสื้อโหลมาแจก การทำงานด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ ผลักดันผ่านระบบบริการปฐมภูมิ

3 District health system : DHS
ระบบสุขภาพอำเภอ District health system : DHS ระบบการทำงานด้านสุขภาพระดับอำเภอร่วมกันของทุกภาคส่วนด้วยการบูรณาการทรัพยากรภายใต้บริบทของพื้นที่ผ่านกระบวนการชื่นชมและการจัดการความรู้ ส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนพึ่งตนเองได้ และไม่ทอดทิ้งกัน โดยมีเป้าหมายร่วมเพื่อสุขภาวะของประชาชน

4 แนวคิดการทำงาน DHS การทำงานร่วมกันของรพช.+สสอ.+รพ.สต.+อปท.+ประชาสังคม โดยมีเป้าหมายเดียวกัน คือ ทำให้ประชาชนและชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ และไม่ทอดทิ้งกัน โดยมีเครือข่ายบริการปฐมภูมิที่มีคุณภาพ และได้รับความไว้วางใจจากประชาชน

5 วิธีการดำเนินงาน DHS เอกภาพของทีมสุขภาพระดับอำเภอ
(Unity of District Health Team) การดูแลสุขภาพตนเอง (Self Care) บริการพื้นฐานที่จำเป็น (Essential Health Care) งบประมาณ, ทรัพยากรต่างๆ และโครงสร้างองค์กร ผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ดีขึ้น, ทีมสุขภาพเป็นสุขและชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน การประเมินผลและเรียนรู้ตามบริบท

6 กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน

7 U: Unity District Health Team การทำงานร่วมกันระดับอำเภอ
U:CARE U: Unity District Health Team การทำงานร่วมกันระดับอำเภอ C: Community Participation การมีส่วนร่วมของเครือข่าย A:Appreciation and Quality การทำงานจนเกิดคุณค่าทั้งผู้ให้ผู้รับบริการ R: Resource sharing and human development การแบ่งปันทรัพยากรและการพัฒนาบุคลากร E: Essential care การให้บริการสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น

8

9 เป้าหมายของ กระทรวง10 สาขา บรรลุ KPI 10 สาขา นโยบาย สบรส. กรมต่างๆ
1. หัวใจและหลอดเลือด 9. บริการปฐมภูมิทุติยภูมิและสุขภาพองค์รวม 7. 5 สาขา 6. ตาและไต 5. จิตเวช 4.ทารกแรกเกิด 3. อุบัติเหตุ 2. มะเร็ง 8. ทันตกรรม 10. NCD บรรลุ KPI 10 สาขา 1. การพัฒนาตามเกณฑ์ขีดความสามารถ ระบบบริการ คุณภาพ Back Bone 2. การพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาโรค/ภาวะ ที่เป็นปัญหาสุขภาพ 3. การพัฒนาบริหารจัดการประสิทธิภาพ 4. ระบบการสนับสนุนทรัพยากร นโยบาย สบรส. กรมต่างๆ นอก สธ. การ เมือง สนับ สนุน

10 ประเด็นสุขภาพในแต่ละระดับ
อายุรกรรม กุมารเวชกรรม ออร์โธโปดิกส์ ทันตกรรม ตา ไต หมอครอบครัว โรคหัวใจ โรคมะเร็ง ทารกแรกเกิด อุบัติเหตุ จิตเวช สูติกรรม ศัลยกรรม Service plan Chronic Diseases Psychiatric Diseases & Mental Health Disabillities End of life care High risk groups ( Pre – school , Adolescent,Elderly) P&P MCH EMS Acute Minor Diseases Dental Health Essential care สตรี เด็ก เยาวชน วัยแรงงาน สูงอายุ ผู้พิการ NCD อาหาร สิ่งแวดล้อม, สุขาภิบาล อาหาร Emerging disease ยุทธศาสตร์กระทรวง

11 เราจะบูรณาการงานสุขภาพจิต เข้าไปในงานสุขภาพระดับอำเภอ
อย่างไร

12 บูรณาการงานสุขภาพจิตชุมชน แผนการดำเนินงานตามบริบทของพื้นที่
ตามกลุ่มวัยภายใต้ แผนการดำเนินงานตามบริบทของพื้นที่

13 Well being กาย จิตวิญญาญ จิต สังคม

14 ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ประเด็นตาม Flagship & Service plan
งานสุขภาพจิต ส่งเสริมสุขภาพจิต ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต บูรณาการ(Integrate) DHS ประเด็นตาม Flagship & Service plan

15 ส่งเสริมสุขภาพจิต เพิ่มศักยภาพของบุคคลในการปรับตัวต่อการดำเนินชีวิต ทักษะในการปรับตัว สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น เพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดี สร้างประโยชน์ให้แก่ตนเองและสังคม

16 ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต
ค้นหากลุ่มเสี่ยงที่จะเกิดปัญหาสุขภาพจิต (คัดกรอง ซักถาม สังเกต พูดคุย) ให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นในกลุ่มเสี่ยงเพื่อลดโอกาสในการเจ็บป่วย ดูแล รักษา ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตระยะเริ่มแรก ส่งต่อผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตที่มีความรุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อนให้กับสถานบริการระดับตติยภูมิ

17 บทบาทของกรมสุขภาพจิตใน DHS
กำหนดนโยบาย/มาตรการสำคัญของงานสุขภาพจิต กำหนดมาตรฐานการดำเนินงานสุขภาพจิต สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี เครื่องมือสุขภาพจิต สนับสนุนให้เกิดการวิเคราะห์เชื่อมโยงระหว่างประเด็นสุขภาพทางกายกับมาตรการทางสุขภาพจิต สนับสนุนทางวิชาการให้กับเครือข่ายในพื้นที่ กำกับ ติดตามการดำเนินงานสุขภาพจิต

18 Conceptual Framework of Mental Health to DHS
Unity District Health Teams (รพช.+สสอ.+รพ.สต.+อปท.+ชุมชน) Clinical Outcomes -Morbidity -Mortality -Quality of Life 1.P&P 2.MCH 3.EMS 4.Acute Minor Diseases 5.Dental Health 6.Chronic Diseases 7.Psychiatric Diseases & Mental Health 8.Disabillities 9.End of life care 10.High risk groups ( Pre – school , Adolescent,Elderly ) ส่งเสริมสุขภาพจิต ParticipationAnalyses & Intervention ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต Psychosocial Outcome -Value -Satisfaction -Happiness CBL Common Goal Common Action Common Learning

19 เด็กติดเกมส์ ผลการเรียนถดถอย ก้าวร้าว สุขภาพเสีย
การปรับตัว ความสัมพันธ์ในคร ความเครียด EQ ปัญหาการเรียน เข้ากับเพื่อนไม่ได้ ครอบครัวมีปัญหา เข้าถึงร้านเกม ผลการเรียนถดถอย ก้าวร้าว สุขภาพเสีย เด็กติดเกมส์

20 โรงเรียนคัดกรองเด็ก จัดกิจกรรม ทำข้อตกลงร้านเกมส์
กิจกรรมในพื้นที่ โรงเรียนคัดกรองเด็ก จัดกิจกรรม ทำข้อตกลงร้านเกมส์ จัดกิจกรรมครอบครัวสัมพันธ์ สร้างความอบอุ่นในครอบครัว

21

22 กระบวนการทำงาน เลือกประเด็นสุขภาพ ตามพื้นฐานของแต่อำเภอ
คณะกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินงาน DHS ของอำเภอ/ผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิตในพื้นที่/ศูนย์สุขภาพจิตร่วมวิเคราะห์ประชาชนกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยตามประเด็นสุขภาพ สร้างการมีส่วนร่วมในการออกแบบกิจกรรม มาตรการในการให้การดูแล ช่วยเหลือ สนับสนุนในประชาชนกลุ่มต่างๆ ประชาชนได้รับบริการครอบคลุมสุขภาพกายและจิตตามบริบทของพื้นที่จริง

23 ตัวอย่างการดำเนินงาน
อำเภอ A เลือกประเด็น โรคเรื้อรัง เป็นประเด็นสำคัญ ทุกภาคส่วนวิเคราะห์ หาผู้ที่จะได้รับผลกระทบทางสุขภาพจิตทั้งหมดจากโรคเรื้อรัง เช่น ผู้ป่วย ญาติผู้ดูแล ชุมชน แนวโน้มสุขภาพจิตของคนกลุ่มต่างๆ ออกแบบกิจกรรม/มาตรการในการดูแลสุขภาพจิต ผู้ป่วยเรื้อรัง/ญาติ/ชุมชน ควบคู่กับการดูแลทางกายเดิม ประชาชนในอำเภอ Aได้รับบริการครอบคลุมสุขภาพกายและจิตในประเด็นโรคเรื้อรัง

24 ตัวชี้วัดกรมสุขภาพจิต
ระดับความสำเร็จในการพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอที่มีการบูรณาการการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชนที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ

25 สวัสดี 25


ดาวน์โหลด ppt การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตด้วยกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ (รสอ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google