งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เสียงวรรณยุกต์ ลักษณะของเสียงดนตรีหรือเสียงวรรณยุกต์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เสียงวรรณยุกต์ ลักษณะของเสียงดนตรีหรือเสียงวรรณยุกต์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เสียงวรรณยุกต์ ลักษณะของเสียงดนตรีหรือเสียงวรรณยุกต์
๑. มีระดับเสียงสูงต่ำ เหมือนเสียงดนตรี ๒. เสียงวรรณยุกต์ ทำให้คำมีความหมายแตกต่างกันไป เช่น ปา ป่า ป้า ๓. เสียงวรรณยุกต์มี ๔ รูป คือ รูป  เรียกว่า ไม้เอก รูป  เรียกว่า ไม้โท รูป  เรียกว่า ไม้ตรี รูป  เรียกว่า ไม้จัตวา ๔. วรรณยุกต์มี ๕ เสียง คือ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวา

2 คำเป็น / คำตาย คำเป็น หมายถึง พยางค์ที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ ๑. พยางค์ที่ประสมกับสระเสียงยาว ไม่มีพยัญชนะสะกด เช่น นา ที่ ปู่ ซื้อ ๒. พยางค์ที่มีพยัญชนะสะกดอยู่ในแม่ กง กน กม เกย เกอว เช่น ช้าง กิน ลม เสย ดาว คำตาย หมายถึง พยางค์ที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ ๑. พยางค์ที่ประสมกับสระเสียงสั้น ไม่มีพยัญชนะสะกด เช่น ติ ผุ พระ ๒. พยางค์ที่มีพยัญชนะสะกดอยู่ในแม่ กก กด กบ เช่น มาก ปด ลบ

3 การผันวรรณยุกต์ กา จะ ขา ผัด คา คะ เชิด
การผันวรรณยุกต์ หมายถึงการเปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์ ของพยางค์ที่ประกอบด้วยพยัญชนะต้นกับสระ หรือพยัญชนะกับสระและตัวสะกดอย่างเดียวกัน ใส่รูปวรรณยุกต์ต่างกันตามที่ปรากฏเป็นพยางค์ในภาษาไทยได้ เช่น - ค๋ะ เชิ๋ด ค้า คะ เชิ้ด ค่า ค่ะ เชิด คา อักษรต่ำ คำเป็น คำตาย สระสั้น สระยาว ขา ข้า ผั้ด ข่า ผัด อักษรสูง คำเป็น คำตาย ก๋า จ๋ะ จัตวา ก๊า จ๊ะ ตรี ก้า จ้ะ โท ก่า จะ เอก สามัญ กา อักษรกลาง คำเป็น เสียงวรรณยุกต์

4 การผันวรรณยุกต์ (ต่อ)
การผันอักษรคู่และอักษรเดี่ยว - น๋ะ โน๋ด นะ โน้ด น่ะ/หน้ะ โนด/โหน้ด หนะ โหนด อักษรเดี่ยว คำตาย สระสั้น สระยาว คึ๋ก ค๋าด คึก ค้าด คึ่ก/ขึ้ก คาด/ข้าด ขึก ขาด อักษรคู่ คำตาย สระสั้น ขา จัตวา ค้า ตรี ค่า/ข้า โท ข่า เอก สามัญ คา อักษรคู่ คำเป็น เสียงวรรณยุกต์

5 พื้นเสียง (ไม่มีรูปวรรณยุกต์)
อักษรกลาง คำเป็น = เสียงสามัญ คำตาย = เสียงเอก อักษรสูง คำเป็น = เสียงจัตวา คำตาย = เสียงเอก อักษรต่ำ คำเป็น = เสียงสามัญ คำตาย สระสั้น = เสียงตรี สระยาว = เสียงโท


ดาวน์โหลด ppt เสียงวรรณยุกต์ ลักษณะของเสียงดนตรีหรือเสียงวรรณยุกต์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google