งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
วัตถุประสงค์ 1.1 ให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ/หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรมที่ติดต่อกันเป็นแปลงใหญ่ 1.2 ทำให้เกิดขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ (Economy of Scale) เพื่ออำนาจการต่อรองของเกษตรกรตลอดกระบวนการผลิต (Production Process) และห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ได้แก่ การจัดการปัจจัยการผลิต การผลิต เทคโนโลยี การเก็บเกี่ยว การจัดการหลังการผลิต การแปรรูปเบื้องต้น และการตลาด 1.3 ทำให้เกิดความสะดวกในการรวบรวมสรรพกำลังของ กษ. ในภูมิภาคทุกหน่วยงาน เพื่อระดมให้เกิดการพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรมในแปลงที่กำหนดแต่ละจังหวัด

2 การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
เป้าหมาย 2.1 มีพื้นที่เป้าหมายที่กำหนดในแต่ละจังหวัด 2.2 มีการกำหนดเป้าหมายการผลิต เทคโนโลยี ประสิทธิภาพในการผลิต ขั้นตอนตั้งแต่การผลิต ตลาดทุกแห่ง 2.3 มีข้อมูลเบื้องต้นและมีการประเมินผลโครงการทุกปีการผลิต 2.4 ผลิตผู้จัดการโครงการภาครัฐ และเอกชน และเกษตรกรที่เป็น Smart Farmer ตลอดจนการใช้แหล่งส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีทั้งภาครัฐและเกษตรกรในพื้นที่ให้ได้ประโยชน์สูงสุด 2.5 ทุ่มเทสรรพกำลังของภาครัฐและเอกชนในพื้นที่แปลงใหญ่ เพื่อให้เห็นผลและเกิดการขยายผล 2.6 ต้องพิสูจน์ได้ว่ามีการลดต้นทุนการผลิต มีประสิทธิภาพในการผลิต และการถ่ายทอดเทคโนโลยี

3 ขั้นตอน คัดเลือกพื้นที่ เขต ชป. ส.ป.ก. นิคมสหกรณ์ อื่น ๆ
จัดทำข้อมูลเกษตรกร พื้นที่โครงการ และการผลิต กำหนดเป้าหมายการผลิต เทคโนโลยี การตลาด และความรับผิดชอบ วางแผนการผลิตร่วมกับผู้เข้าร่วมโครงการ วางแผนด้านการตลาด การจัด การปัจจัยการผลิต การเฝ้าระวังฯ การจัดการแหล่งผลิต ฯลฯ ผลิตและควบคุมการผลิต การเก็บเกี่ยว วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว การผลิตผลิตภัณฑ์อย่างง่าย (ถ้ามี) ตลาด - เกษตรกร - Modern Trade - ทั่วไป อื่น ๆ ให้ความช่วยเหลือด้านอื่นๆ เท่าที่จำเป็น/เหมาะสม - ประเมินผล - ปรับปรุง - ขยายพื้นที่ปีการเพาะปลูกต่อไป คัดเลือก ข้อมูล กำหนดเป้าหมาย วางแผนตลาด ปัจจัย วางแผนร่วมกับผู้ผลิต ผลิต ให้ความช่วยเหลืออื่นๆ ผลิตผลิตภัณฑ์ ตลาด ประเมิน

4 การกำกับดูแล การรายงาน (รายเดือน)
4.1 คณะกรรมการขับเคลื่อนระดับกระทรวง + สศก. และส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทุกหน่วย 4.2 คณะกรรมการระดับจังหวัด และอนุกรรมการที่ตั้งขึ้นตามความเหมาะสม โครงการ และจังหวัด สศก. และคณะกรรมการขับเคลื่อนฯ สรุปเสนอการประชุม Morning Talk และ รมว.กษ. การรายงาน (รายเดือน) ข้อมูลที่จำเป็น รายนามเกษตรกรและแผนที่โครงการ เป้าหมายการผลิต/ เทคโนโลยีที่จะใช้ (อาจมีหลายอย่าง)/ เป้าหมายการตลาด ปัญหาอุปสรรค การแก้ไข ผลการดำเนินงานที่สำคัญ

5 ข้าวโพด ข้าวไร่ ข้าวเหนียว ผลไม้ ข้าวหอมมะลิ มันสำปะหลัง ข้าวขาว อ้อย
ยาง อ้อย Input Process Output Market ผลไม้ สับปะรด ผลไม้ ยาง ปาล์ม Primary Industry

6 แปลงใหญ่ ข้าว ยางพารา ประมง ปศุสัตว์ พืชอื่นๆ สหกรณ์ โครงการสนับสนุน กฎหมาย และการบังคับใช้กฎหมาย


ดาวน์โหลด ppt การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google