งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทำไม! สบพ. ต้องมีระบบประเมินผลการดำเนินงานองค์กร ?

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทำไม! สบพ. ต้องมีระบบประเมินผลการดำเนินงานองค์กร ?"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทำไม! สบพ. ต้องมีระบบประเมินผลการดำเนินงานองค์กร ?
ระบบประเมินผลเป็นเครื่องมือในการกระตุ้นประสิทธิภาพในการดำเนินงาน **ที่มาของระบบประเมินผล สบพ. เริ่มเข้าสู่ระบบประเมินผลการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2548 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน โดยการกำกับดูแลควบคุมของสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) กระทรวงการคลัง และมีบริษัท ไทยเรทติ้งแอนด์อินฟอร์เมชั่นเซอร์วิส จำกัด (TRIS) เป็นที่ปรึกษาระบบประเมินผล ประโยชน์ของระบบประเมินผล เพื่อติดตาม กำกับดูแลประสิทธิภาพการดำเนินงานขององค์กร เพื่อเพิ่มศักยภาพขององค์กรให้มีมาตรฐานสากล สามารถแข่งขันกับคู่แข่งที่มีธุรกิจเดี่ยวกันในตลาดโลกได้ เพื่อให้องค์กรมีความพร้อมในการรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้ เพื่อให้องค์กรสามารถบรรลุผลการดำเนินงานตามที่คาดหวัง

2 หลักการของระบบประเมินผล
1. นำนโยบายของรัฐบาลมาช่วยผลักดันการปรับปรุงประสิทธิภาพ การดำเนินงานขององค์กร 2. ทำให้องค์กรทราบถึงระดับความสามารถในการแข่งขัน 3. มุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน โดยคณะกรรมการสบพ. เป็นผู้รับผิดชอบ 4. มุ่งเน้นการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานขององค์กร โดยฝ่ายบริหาร 5. ใช้แผนธุรกิจ/แผนกลยุทธ์/แผนวิสาหกิจเป็นเครื่องมือในการกำหนด เป้าหมาย ประเมินผล และติดตามผลการดำเนินงาน 6. การกำหนดตัวชี้วัดหลัก ที่สะท้อนผลการดำเนินงาน 7. เป็นการประสานงานระหว่างกระทรวงเจ้าสังกัด (กระทรวงคมนาคม เจ้าสังกัดของ สบพ.)ที่ปรึกษาการประเมินผล(บ. TRIS) และสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ สคร.(กระทรวงการคลัง) +

3 แนวทางของระบบประเมินผล ปี 2551
ยุทธศาสตร์ /ทิศทางของประเทศ นโยบายเปิดน่านฟ้าเสรี เปิดเขตการค้าเสรีและส่งเสริมการท่องเที่ยวไทย ส่งผลให้อุตสาหกรรมการบินของไทยเติบโตอย่างรวดเร็ว ทำให้ความต้อง บุคลากรด้านการบินเพิ่มขึ้น ยุทธศาสตร์ /ทิศทางของกระทรวงคมนาคม พัฒนาและฝึกอบรมทางวิชาการแก่บุคลากรด้านการบินตามความต้องการของประเทศใน ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค ให้เจริญก้าวหน้าทันกับเทคโลยีสมัยใหม่ และได้มาตรฐานสากล ยุทธศาสตร์ /ทิศทางของ สบพ. Vision(วิสัยทัศน์) เป็นศูนย์กลางแห่งความเป็นเลิศด้านวิชาชีพในอุตสาหกรรมการบินของชาติและ ภูมิภาค โดยเป็นองค์กรแห่ง การเรียนรู้ที่มีบุคลากรคุณภาพระดับมาตรฐานสากล Mission(ภารกิจ) - ผลิตและพัฒนาบุคลากรด้านอุตสาหกรรมการบินให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลอย่างเพียงพอต่อ ความต้องการภายในประเทศและสอดคล้องกับความต้องการของภูมิภาค - ศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับอุตฯการบิน เผยแพร่ความรู้ ให้คำปรึกษาและเพื่อเพิ่ม ศักยภาพในการแข่งขันของระบบขนส่งทางอากาศของไทยในภูมิภาค - เพิ่มขีดความสามารถในการให้บริการซ่อมบำรุงอากาศยาน - ให้บริการอากาศยานและสร้างบริการใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตฯการบินเพื่อฝึกทักษะการปฏิบัติ งานจริงให้กับนศ. และให้บริการกับหน่วยงานภายนอก กลยุทธ์หลัก : การสร้างความแตกต่าง โดยเน้นความ เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของหลักสูตรและจัดการเรียน การสอน ซึ่งแตกต่างจากสถาบันอุดมศึกษาทั่วไป ตัวชี้วัด

4 วิธีการและขั้นตอนในการดำเนินการระบบประเมินผล
1. เสนอแผนรัฐวิสาหกิจ แผนกลยุทธ์ แผนธุรกิจต่อ สคร. โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการสบพ. และกระทรวงคมนาคมที่ สบพ. สังกัด เพื่อกำหนดตัวชี้วัด 2. จัดทำบันทึกข้อตกลงการประเมินผลการดำเนินงาน 3. คณะกรรมการของรัฐวิสาหกิจเป็นผู้กำกับดูแลให้รัฐวิสาหกิจดำเนินการให้บรรลุตามเป้าหมายที่จัดทำบันทึก 4. กำหนดผู้รับผิดชอบจัดทำรายงานผลการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจตามตัวชี้วัด 5. รายงานผลการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจประจำปีงบประมาณทุก 6 เดือน ในกรอบที่ 1 การดำเนินงานตามนโยบาย และกรอบที่ 2 ผลการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจ และรายปีในกรอบที่ 1, 2 และ-3 การบริหารจัดการองค์กร **ที่มาของระบบประเมินผล สบพ. เริ่มเข้าสู่ระบบประเมินผลการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2548 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน โดยการกำกับดูแลควบคุมของสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) ประโยชน์ของระบบประเมินผล เพื่อติดตาม กำกับดูแลประสิทธิภาพการดำเนินงานขององค์กร เพื่อเพิ่มศักยภาพขององค์กรให้มีมาตรฐานสากล สามารถแข่งขันกับคู่แข่งที่มีธุรกิจเดี่ยวกันในตลาดโลกได้ เพื่อให้องค์กรมีความพร้อมในการรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้

5 เกณฑ์การวัดผลการดำเนินงาน
การกำหนดตัวชี้วัดของ สบพ. จะพิจารณาจากวิสัยทัศน์ ภารกิจหลัก นโยบาย แผนกลยุทธ์ที่สำคัญขององค์กร และทิศทางที่สำคัญของภาครัฐ (Shareholder’s direction) ทั้งนี้ เพื่อวัดประสิทธิภาพการดำเนินงาน 3 ด้านหลัก 1. การดำเนินงานตามนโยบาย น้ำหนักร้อยละ 20 2. ผลการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจ น้ำหนักร้อยละ 50 2.1 Financial ตัวชี้วัดทางการเงิน 2.2 Non-Financial ตัวชี้วัดที่ไม่ใช่ทางการเงิน ปี 2551 มี 4 ตัว 1. EBIDA 2. ค่าใช้จ่ายพนง.ต่อรายได้รวม 3. อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม 4. การเปลี่ยนแปลงของมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ (EP) 3. การบริหารจัดการองค์กร 5 ด้าน น้ำหนักร้อยละ 30 3.1 บทบาทคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ 3.2 การบริหารความเสี่ยง 3.3 การควบคุมและตรวจสอบภายใน 3.4 การบริหารจัดการสารสนเทศ 3.5 การบริหารทรัพยากรบุคคล

6 3.1 บทบาทคณะกรรมการ การบริหารจัดการองค์กร 5 ด้าน วัตถุประสงค์
เพื่อส่งเสริมให้มีการกำกับดูแลที่ดีและสนับสนุนให้คณะกรรมการปฏิบัติ งานตามหน้าที่ความรับผิดชอบให้ครบถ้วนและมีประสิทธิผล เพื่อส่งเสริมความสำคัญต่อการส่งเสริมความรู้ความสามารถของคณก.ในรูปแบบ ต่างๆ และคณก.สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ดียิ่งขึ้น เช่น การเข้ารับการอบรม สัมมนา ดูงาน รวมถึงการประเมินและการประเมินตนเองของคณก. เกณฑ์การประเมินผล 1. บทบาทและการปฏิบัติหน้าที่ ร้อยละ 85 1.1 การกำหนดให้มีแผน ทิศทาง กลยุทธ์ นโยบายและเป้าหมายที่สำคัญ 1.2 การติดตามและทบทวนความเพียงพอ ของระบบงานที่สำคัญ 1.3 การดูแลติดตามผลการดำเนินงาน 1.4 การประเมินผลงานของผู้บริหารระดับสูง 1.5 การประชุมคณะกรรมการ/อนุกรรมการ 1.6 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส เกณฑ์การประเมินผล 2. การพัฒนาตนเอง ร้อยละ 15 2.1 การประเมินตนเองของคณก. 2.2 การส่งเสริมความรู้ ความสามารถ

7 การบริหารจัดการองค์กร 5 ด้าน
3.2 การบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยง คือ ความไม่แน่ นอนที่อาจจะนำไปสู่ความสูญเสีย ระดับที่ 5 การปลูกฝังให้การบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมที่นำไปสู่การสร้างสรรค์มูลค่าให้แก่องค์กร (Value Creation) กระบวนการบริหารความเสี่ยงเป็นกิจกรรมประจำวันของทุกหน่วยงาน และสัมพันธ์กับผลตอบแทน/ความดีความชอบ การบริหาร ITG ที่ดีตามเป้าหมายที่กำหนด การบริหารความเสี่ยงเป็นการสนับสนุนการบริหารเพื่อสร้างสรรค์มูลค่าให้กับองค์กร (การวัดระดับการบริหารความเสี่ยง) เกณฑ์การประเมินผล ระดับที่ 4 การบริหารความเสี่ยงที่สร้างมูลค่าเพิ่มแก่องค์กร มีกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงที่เชื่อมโยงกับการกำหนดนโยบาย/กลยุทธ์/การวางแผน/การลงทุน มีการสนับสนุนการบริหารความเสี่ยงเพื่อเพิ่มมูลค่าองค์กร มีการทบทวนและปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอ มีการบริหาร ITG ที่ดี ผลการบริหารความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจริงดีกว่าแผนการบริหารความเสี่ยง ระดับที่ 3 เชื่อมโยงและบูรณาการความเสี่ยงกับ ITG มีการกำหนด Risk Appetite และ Risk Tolerance โดยครอบคลุมความเสี่ยงที่เป็น S-O-F-C และต้อง สอดคล้องกับเป้าหมาย มีการบริหารความเสี่ยงที่เป็นกลยุทธ์หรือการดำเนินงานที่ต่อเนื่องทั้งองค์กร มีการบริหาร ITG ที่ดี ผลการบริหารความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจริงเป็นไปตามแผนการบริหารความเสี่ยง ระดับที่ 2 การบริหารความเสี่ยงเบื้องต้นที่มีระบบ มีการบริหารเป็นกลยุทธระยะสั้น มีกระบวนการบริหารความเสี่ยงแยกออกเป็นส่วนๆ จัดทำคู่มือบริหารความเสี่ยงมีคุณสมบัติที่ดีครบถ้วน ผลการบริหารความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจริงด้อยกว่าแผนและไม่ต่างจากอดีต ระดับที่ 1 การบริหารความเสี่ยงน้อยมาก มีแนวทางการบริหารความเสี่ยงในเชิงรับ/ในระดับต้นและยังไม่เป็นระบบ ไม่มีคณะทำงานเพื่อจัดการความเสี่ยงในรูปแบบบูรณาการ ไม่มีคู่มือการบริหารความเสี่ยง

8 การบริหารจัดการองค์กร 5 ด้าน หลักเกณฑ์การประเมินผล
3.3 การควบคุมภายในและตรวจสอบภายใน การควบคุมภายใน หลักเกณฑ์การประเมินผล ตรวจสอบภายใน * สภาพแวดล้อมของการควบคุม ร้อยละ 20 - มีระบบการควบคุมตรวจสอบที่เกี่ยวกับการกระทำที่ไม่เป็นตามกฎระเบียบ การทำรายงานสรุปผล - การมอบอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ควรมีการสอบทานกลับอย่างสม่ำเสมอ * การประเมินความเสี่ยง (ประเมินในหัวข้อการบริหารความเสี่ยง) * กิจกรรมการควบคุม ร้อยละ 18 - การสอบทานรายงาน ทางการเงินและมิใช่การเงิน - การดูแลป้องกันทรัพย์สินที่รัดกุม - การทำคู่มือระบบควบคุมภายใน และต้องมีการทบทวนคู่มือ ให้มีการปฏิบัติตามคู่มือ - การควบคุมระบบสารสนเทศ เช่น การควบคุมการประมวลผล การสอบทานผลลัพธ์ ซึ่งมีผลต่อความน่าเชื่อถือของรายงาน * สารสนเทศและการสื่อสาร(ประเมินในหัวข้อการบริหารจัดการสารสนเทศ) * การติดตามประเมินผล ร้อยละ 12 - มีการติดตามผลการประเมินการควบคุมด้วยตนเอง (CSA) เป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงาน - มีการบูรณาการการควบคุมภายในกับการบริหารความเสี่ยงและตรวจสอบภายใน ในปีต่อๆไป แนวทางปฏิบัติด้าน องค์กร 23% แนวทางปฏิบัติด้าน ปฏิบัติงาน 27% การวางแผนเชิง กลยุทธ์ 7% บทบาทและความรับผิด ชอบของหน่วยตรวจสอบ5% ความเป็นอิสระ 5% การวางแผนในรายละ เอียดและการปฏิบัติ งานตรวจสอบ 5% ความสัมพันธ์กับ คณก. ตรวจสอบ 3% การรายงานและการ ปิดการตรวจสอบ 5% ความสัมพันธ์ของตรวจ สอบภายในกับฝ่ายบริหาร และผู้สอบบัญชี 5% ความเชื่อมั่นใน คุณภาพ 5% การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความ ระมัดระวังรอบคอบ 5% บุคลากร การพัฒนา และการฝึกอบรม 5%

9 3.4 การบริหารจัดการสารสนเทศ
การบริหารจัดการองค์กร 5 ด้าน 3.4 การบริหารจัดการสารสนเทศ หลักเกณฑ์การประเมินผล แผนแม่บทสารสนเทศ ร้อยละ 10 1 การบริหารจัดการสารสนเทศ ร้อยละ 90 2 2.1 ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการบริหารจัดการของรัฐวิสาหกิจ 2.2 ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการบริหารความเสี่ยง 2.3 ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการควบคุมและการตรวจสอบภายใน 2.4 ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการบริหารทรัพยากรบุคคล 2.5 ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการดำเนินงานตาม พรก.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 และนโยบายต่างๆ ของรัฐบาล 2.6 ระบบสารสนเทศที่ตอบสนองต่อความต้องการภายในและภายนอกรัฐวิสาหกิจ

10 3.5 การบริหารทรัพยากรบุคคล
การบริหารจัดการองค์กร 5 ด้าน 3.5 การบริหารทรัพยากรบุคคล หลักเกณฑ์การประเมินผล 3 โครงสร้างพื้นฐาน 40% 3.1ช่องทางการสื่อสารและแรงงานสัมพันธ์ 8 % 3.2 หลักปฏิบัติและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง 8% 3.3 ระบบสารสนเทศด้าน HR 8% 3.4 ความปลอดภัย สุขอนามัยและสภาพแวดล้อม 6% 3.5 การเพิ่มศักยภาพด้านการบริหาร HR 10% 1 นโยบายและกลยุทธ์ด้าน HR 20% 2 ระบบบริหารและพัฒนา HR 40% ระบบการบริหาร HR 30% 2.1 การสรรหาและจัดการอัตรากำลัง 10 % 2.2 การบริหารผลตอบแทนและสิทธิประโยชน์ 10% ระบบในการพัฒนา HR 10% 2.3 การวัดและประเมินผลการดำเนินงาน 10% 2.4 การวัดและประเมินผลการดำเนินงาน 10%


ดาวน์โหลด ppt ทำไม! สบพ. ต้องมีระบบประเมินผลการดำเนินงานองค์กร ?

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google