งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการศึกษาข้อมูลท้องถิ่น ศูนย์ศิลปาชีพบ้านโคกก่อง ที่ตั้ง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการศึกษาข้อมูลท้องถิ่น ศูนย์ศิลปาชีพบ้านโคกก่อง ที่ตั้ง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการศึกษาข้อมูลท้องถิ่น ศูนย์ศิลปาชีพบ้านโคกก่อง ที่ตั้ง
หมู่ที่7บ.โคกก่อง ต.หนองแดง อ.นาเชือก จ.มหาสารคาม

2 ประวัติหมู่บ้าน บ้านโคกก่องแยกการปกครองออกมาจากบ้านสำโรงเมื่อ พ.ศ ปัจจุบันเป็น 1 ใน 10 ของตำบลหนองแดง ประกอบไปด้วย 10 หมู่บ้านและมีผู้ใหญ่บ้านดังนี้ 1. บ้านหนองแดง หมู่ที่ นายชัย ปะผาลา ผู้ใหญ่บ้าน 2. บ้านนาด่าน หมู่ที่ 2 นายสำลี ประทุมนอก ผู้ใหญ่บ้าน 3. บ้านดอนแฮด หมู่ที่ 3 นายสุวรรณ จันทะปาขาว ผู้ใหญ่บ้าน 4. บ้านเก่าใหญ่ หมู่ที่ 4 นายชิด จันทจร ผู้ใหญ่บ้าน 5. บ้านโนนสะอาด หมู่ที่ 5 นายจำกัด วงศ์คำจันทร์ ผู้ใหญ่บ้าน

3 6. บ้านวังหิน หมู่ที่ 6 นายบุญจันทร์ พลสอน ผู้ใหญ่บ้าน
7. บ้านโคกก่อง หมู่ที่ 7 นายคำมูล แทนหลาบ ผู้ใหญ่บ้าน 8. บ้านโคกสูง หมู่ที่ 8 นายมนูญ ปิตตาระโพธิ์ ผู้ใหญ่บ้าน 9. บ้านหนองแต้ หมู่ที่ 9 นายเคน เศษอ่อน ผู้ใหญ่บ้าน 10. บ้านหนองแดงสหมิตร หมู่ที่ 10 นายน้อย สุรีรัตน์ ผู้ใหญ่บ้าน สภาพทั่วไป สภาพพื้นที่เป็นที่ราบสูงแบบลูกคลื่น ดินส่วนใหญ่เป็นดินปนทราย ส่วนมากเป็นที่นาไร่ พื้นที่ทั้งหมด 890 ไร่

4 อาณาเขต ทิศเหนือ ติตต่อกับ ต.เลิงแฝก กิ่ง อ.กุดรัง จ.มหาสารคาม ทิศใต้ ติดต่อกับ ต.ปอพาน อ.นาเชือก จ.มหาสารคาม ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต.สำโรง อ.นาเชือก จ.มหาสารคาม ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ต.เปือยน้อย อ.เปือยน้อย จ.ขอนแก่น จำนวนประชากร รวมทั้งหมด 498 คน ชาย 253 คน หญิง 245 คน และมีบ้าน หลังคาเรือน

5 อาชีพ อาชีพหลัก ทำนา อาชีพเสริม ทำไร่ เลี้ยงสัตว์ รับจ้าง อุตสาหกรรมในครัวเรือน สถานที่สำคัญ องค์การบริหารส่วนตำบล ศูนย์ศิลปาชีพบ้านโคกก่อง

6 แผนที่เส้นทางไปศูนย์ศิลปาชีพ
จ. มหาสารคาม 30 กม. อ.บรบือ 32 กม. ศูนย์ศิลปาชีพบ้านโคกก่อง อ.นาเชือก 18 กม.

7 ประวัติศูนย์ศิลปาชีพ
เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2535 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถทรงเสด็จเยี่ยมราษฎรบ้านโคกก่อง ต.หนองแดง อ.นาเชือก จ.มหาสารคามทรงทราบ ถึงความเดือดร้อนอันเนื่องมาจากปัญหาการประกอบอาชีพ ซึ่งพื้นที่บริเวณบ้านโคกก่องและหมู่บ้านใกล้เคียงจะประสบปัญหาแห้งแล้ง การเพาะปลูกไม่ได้ผลเท่าที่ควร ราษฎรมีรายได้น้อยจึงทำให้เกิดปัญหาความยากจนตามมา พระองค์ทรงมีความห่วงใยในความเป็นอยู่ของราษฎรจึงทรงพระราชทานความช่วยเหลือโดยการจัดตั้งศูนย์ศิลปาชีพขึ้นในสถานที่บ้านโคกก่อง เมื่อ พ.ศ เพื่อเป็นศูนย์กลางของตำบลหนองแดง และทรงพระราชทานเงินในการประกอบอาชีพเสริมรายได้ให้กับครอบครัว และทรงมีพระราชเสาวนีย์ให้นำไปเป็นทุนในการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ทอผ้าไหม ทรงรับเข้าเป็นสมาชิกการทอผ้าไหม โดยให้การทอผ้าไหมส่งไปจำหน่ายที่ กองศิลปาชีพ สวนจิตรดา กรุงเทพมหานคร

8 การแบ่งประเภทของสมาชิก
- กลุ่มทอผ้าไหม - กลุ่มปลูกหม่อนเลี้ยงไหม - กลุ่มแกะสลักไม้ - กลุ่มเขียนลาย - กลุ่มปักผ้า

9 -รายได้รวมของสมาชิกโครงการ 27,616,200 รายได้เฉลี่ย 64,075 บ./ค.ร.
รายได้ของสมาชิก. -รายได้รวมของสมาชิกโครงการ 27,616,200 รายได้เฉลี่ย 64,075 บ./ค.ร. -รายได้เฉลี่ยเฉพาะงานศิลปาชีพ 3,468,200 รายได้เฉลี่ย 8,606 บ./ค.ร

10 กิจกรรมของกลุ่มสมาชิก
- ต้อนรับผู้เยี่ยมชมโครงการ - พัฒนาทำความสะอาดภายในโครงการ - ทำบุญตักบาตร 12 สิงหา มหาราชินี - ประดับผ้าระบายศาลาทรงงาน - จำหน่ายผลิตภัณฑ์ผ้าไหมอำเภอนาเชือก - ทำความสะอาดหน้าถนนโครงการ - ประกวดผ้าไหมอำเภอนาเชือก

11 ต้อนรับผู้เยี่ยมชมโครงการ

12 พัฒนาทำความสะอาดภายในโครงการ

13 ทำบุญตักบาตร 12 สิงหา มหาราชินี

14 ประดับผ้าระบายศาลาทรงงาน

15 จำหน่ายผลิตภัณฑ์ผ้าไหม

16 ทำความสะอาดหน้าถนนโครงการ

17 ประกวดผ้าไหมอำเภอนาเชือก

18 ผลิตภัณฑ์การทอผ้าไหมของศูนย์ศิลปาชีพ
ขั้นตอนการทอผ้าไหม 1. การเพาะตัวไหม การมัดหมี่ 2. การเลี้ยงตัวไหม การย้อมไหม 3. ระยะชักใยของตัวไหม การทอผ้าไหม 4. การสาวไหม ได้ผ้าไหมที่เสร็จสมบูรณ์ 5. วิธีฟอกไหม

19 การเพาะตัวไหม

20 การเลี้ยงตัวไหม

21 ระยะชักใยของตัวไหม

22 การสาวไหม

23 วิธีฟอกไหม

24 การมัดหมี่

25 การย้อมไหม

26 การทอผ้าไหม

27 ผ้าไหมสำเร็จรูป

28 จัดทำโดย นางสาวอรนุช บุตดีหงษ์ รหัส 444303139
นางสาวอรนุช บุตดีหงษ์ รหัส โปรแกรมวิชาบรรณารักษ์ฯ 4.3


ดาวน์โหลด ppt โครงการศึกษาข้อมูลท้องถิ่น ศูนย์ศิลปาชีพบ้านโคกก่อง ที่ตั้ง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google