งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถานะสุขภาพรายเขตบริการสุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถานะสุขภาพรายเขตบริการสุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถานะสุขภาพรายเขตบริการสุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
นพ. ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ 17 กรกฎาคม 2557

2 สถานะสุขภาพรายเขตบริการสุขภาพ
อัตราตายรวมทุกกลุ่มอายุของโรค CHD อัตราป่วยรวมทุกกลุ่มอายุของโรค CHD ปัจจัยเสี่ยงทางชีวเคมี : ความชุกของ DM, HT, อ้วน พฤติกรรมเสี่ยง : บุหรี่ สุรา ออกกำลังกายไม่พอ ทานผักผลไม้น้อย การได้รับบริการคัดกรอง DM, HT ผลลัพธ์การให้บริการดูแลรักษา : การควบคุมสภาวะโรคได้

3 เป้าหมายระดับประเทศไม่เกิน 23 ต่อแสน
อัตราตายอย่างหยาบรวมทุกกลุ่มอายุด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจเมื่อเทียมกับค่าของประเทศ (ไม่เกิน 23 ต่อแสน) พบว่าในปี 56 เขต 7,8,9,10 หรือพื้นที่ภาคอิสานจะมีอัตราตายต่ำกว่าเป้าหมายระดับประเทศ ส่วนเขต 3,4,5,6,11 และกรุงเทพซึ่งเป็นพื้นที่ตอนกลางและชายฝั่งอันดามันจะมีอัตราตายสูงกว่าเป้าหมายระดับประเทศ

4 อัตราตายรวมทุกกลุ่มอายุ คือ ปัญหาส่วนใหญ่อยู่ในพื้นทีภาคกลางและภาคใต้
ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สป. (วิเคราะห์ข้อมูลโดย : สำนักโรคไม่ติดต่อ) เมื่อพิจารณาอัตราการตายก่อนวัยอันควรของโรคหลอดเลือดหัวใจ (ตายระหว่างอายุ ปี) ข้อมูลปี 54 ก็พบลักษณะเดียวกันกับ อัตราตายรวมทุกกลุ่มอายุ คือ ปัญหาส่วนใหญ่อยู่ในพื้นทีภาคกลางและภาคใต้ อย่างไรก็ตามอัตราตายของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจะสะท้อนขนาดและแนวโน้มของปัญหามากกว่าการดำเนินมาตรการรายปีเพราะบางโรค เมื่อเป็นแล้วกว่าจะเสียชีวิตก็ใช้เวลานับสิบปี จึงควรใช้เพื่อดูแนวโน้มระยะยาวมากกว่าที่จะวัดผลรายปี

5 เปรียบเทียบกับส่วนต่างของปี 55 กับปี 54
ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สป. (วิเคราะห์ข้อมูลโดย : สำนักโรคไม่ติดต่อ) อัตราป่วยด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจมีลักษณะไปด้วยกันกับอัตราตาย ที่เห็นสูงขึ้นทุกปีเพราะเป็นอัตราที่สะสม แต่ถ้าหากจะใช้เป็นตัวชี้วัด ในระยะปานกลางสามารถดูได้จากอัตราป่วยใหม่ที่พบ case ใหม่ในแต่ละปี หรือเปรียบเทียบส่วนต่างระหว่างปี เช่น ส่วนต่างของปี 54 กับ 53 เปรียบเทียบกับส่วนต่างของปี 55 กับปี 54

6

7

8 อัตราการสูบบุหรี่ปัจจุบัน ชนิดมีควัน จำแนกตามเขตบริการสุขภาพ
ร้อยละ แหล่งข้อมูล: สำนักงานสถิติแห่งชาติ วิเคราะห์ข้อมูลโดย : กลุ่มยุทธศาสตร์และพัฒนาองค์กร สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ

9

10 50 (ที่มา : Med Res Net 2556)

11 ร้อยละผู้ป่วย DM ที่สามารถคุมน้ำตาลได้ (เกณฑ์ HbA1C <7%)
(ที่มา : Med Res Net 2556)

12 ร้อยละของการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตทั้งหมดของผู้ป่วย DM2
(ข้อมูล จาก Med Res Net : 2556) ร้อยละของการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางตาทั้งหมดของผู้ป่วย DM2

13 ร้อยละของการเกิดภาวะแทรกซ้อนของหัวใจและหลอดเลือดของผู้ป่วย DM2
(ข้อมูล จาก Med Res Net : 2556)

14 สรุปวิเคราะห์สถานะสุขภาพ
เมื่อดูจากปัจจัยเสี่ยงทางชีวเคมี (ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ภาวะความดันโลหิตสูง อ้วน) และพฤติกรรมการออกกำลังกายไม่เพียงพอ จะเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับอัตราป่วยและตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ กล่าวคือ ปัญหาส่วนใหญ่อยู่ในเขตบริการสุขภาพทางภาคกลางและภาคใต้ และสูงตามกันกับอัตราป่วยและอัตราตาย แต่สำหรับการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ปัญหาส่วนใหญ่อยู่ในเขตทางภาคเหนือและอิสาน การสูบบุหรี่ปัญหาส่วนใหญ่อยู่ในเขตภาคอิสานและใต้ ผลลัพธ์การรักษาพบว่าทางภาคอิสานทุกเขตบริการจะมีปัญหาเหมือนกันคืออัตราการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีของผู้ป่วยเบาหวานจะค่อนข้างต่ำและมีภาวะแทรกซ้อนทางไตและตาสูง แต่มีภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจและหลอดเลือดต่ำกว่าเขตบริการสุขภาพในภาคอื่นๆ

15 9 เป้าหมาย NCD สำหรับ ปี 2568 ลดตายก่อนวัยอันควรจากโรค NCDs 25%
ลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 10 % ลดการบริโภคยาสูบ 30 % ลดภาวะความดันโลหิตสูง 25 % ผู้ที่เสี่ยงสูงต่อ CVD ได้รับยาและคำปรึกษา 50% ลดตายก่อนวัยอันควรจากโรค NCDs 25% ลดการขาดกิจกรรม ทางกาย 10 % ลดการบริโภคเกลือ/โซเดียม 30% ภาวะเบาหวานและอ้วนไม่ให้เพิ่ม ยาและเทคโนโลยีที่จำเป็นครอบคลุม 80%

16 ข้อเสนอตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ในปี 2558
1. อัตราป่วยรายใหม่จากโรคหลอดเลือดหัวใจไม่เพิ่มขึ้น (ระดับกสธ.) 2. อัตราป่วยรายใหม่จากโรคเบาหวานไม่เพิ่มขึ้น (ระดับกรม) 3. อัตราป่วยรายใหม่จากโรคความดันโลหิตสูงไม่เพิ่ม (ระดับกรม) 4. ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ร้อยละ 40 ระดับเขต 5. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ 50 ระดับเขต 6. คลินิก NCD คุณภาพ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) ระดับเขต 7. ความชุกของพฤติกรรมเสี่ยง (ออกกำลังกาย บุหรี่ สุรา บริโภคผักผลไม้) ระดับเขต 8. อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน (ไม่เกิน 20 ต่อประชากรแสนคน) ระดับกรม

17 กรอบแนวคิดยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ปี พ
กรอบแนวคิดยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ปี พ.ศ.2558 -พัฒนาคลินิก NCD คุณภาพในสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ -ตำบลจัดการสุขภาพ -ระบบสุขภาพอำเภอ -M&E -ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -ปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อม -บังคับใช้กฎหมาย เพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ อย่างเท่าเทียม บริการเชิงรุกสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ระบบการบริหารจัดการสุขภาพที่ดี

18 กิจกรรมบูรณการกลุ่มวัยทำงาน
มาตรการที่ 1 มาตรการที่ 2 1. สร้างเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ผ่านตำบลจัดการสุขภาพ 2. บังคับใช้กฎหมายสุรา-ยาสูบ 1. พัฒนาคลินิก NCDs คุณภาพ -มุ่งเน้นจัดบริการรายบุคคลตามสถานะของโรค -ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันที่ควบคุมได้ดี -อัตราป่วยรายใหม่จากโรคหลอดเลือดหัวใจลดลง -ความชุกของพฤติกรรมเสี่ยงลดลง -อัตราป่วยใหม่เบาหวาน/ความดันไม่เพิ่ม คู่มือบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน สนับสนุนงบประมาณรายจังหวัด เพื่อ พัฒนาระบบบริการ และติดตามการสร้างเสริมสุขภาพ สนับสนุนงบประมาณ พัฒนาระบบบริการ ติดตามการสร้างเสริมสุขภาพกลุ่มวัยทำงานรายจังหวัด M&E (โดยส่วนกลางและเขต) : SIIIM

19 คุณลักษณะของตำบลจัดการสุขภาพ
กิจกรรมที่ 1 การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ กับการจัดการค่ากลาง กิจกรรมที่ 2 การปรับปรุงแผนงาน/โครงการ ของท้องถิ่น/ตำบล/ชุมชน กิจกรรมที่ 3 การจัดการสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ กิจกรรมที่ 4 การกำหนดมาตรการทางสังคมหรือข้อตกลงร่วม กิจกรรมที่ 5 การเฝ้าระวัง /การคัดกรอง กิจกรรมที่ 6 การสื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

20 ตัวอย่าง การบูรณาการดำเนินงานในตำบลจัดการสุขภาพ
กิจกรรม ตัวอย่าง การบูรณาการดำเนินงานในตำบลจัดการสุขภาพ 3 การจัดการสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 1. มีสถานที่ออกกำลังกาย/ชมรมออกกำลังกาย /ชมรมผู้สูงอายุ 2. มีศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชุมชน 3. มีอุปกรณ์ในการติดตามพฤติกรรมสุขภาพตนเอง เช่นเครื่องวัดความดันโลหิต เครื่องชั่งน้ำหนัก ที่ประชาชนเข้าถึงได้ง่าย 4. +/-มีแปลงสาธิตในการปลูกผักปลอดสารพิษ / ส่งเสริมให้มีตลาดผักปลอดสารพิษ 5. ส่งเสริมศาสนกิจในชุมชน (หมู่บ้านศีล5) 4 การกำหนดมาตรการทางสังคมหรือข้อตกลงร่วม 1. กำหนดข้อตกลงร่วมกันของชุมชน ตำบล ในการลดพฤติกรรมเสี่ยง ลดการบริโภคน้ำปลา เกลือ เครื่องปรุงรสในครัวเรือน ใช้พืช/สมุนไพรแทนเครื่องปรุงรสในครัวเรือน เช่น หญ้าหวาน ผักหวาน ใบย่านางฯ งดเหล้า/ ลดอาหารหวาน มัน เค็ม /งดชากาแฟ ในงานศพและงานบุญ 2. ให้รางวัลบุคคลที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้นอย่างชัดเจน

21 ตัวอย่าง การบูรณาการดำเนินงานในตำบลจัดการสุขภาพ
กิจกรรม ตัวอย่าง การบูรณาการดำเนินงานในตำบลจัดการสุขภาพ 5 การเฝ้าระวัง /การคัดกรอง 1. มีการเฝ้าระวังด้วยตนเอง : รอบเอว น้ำหนัก อ้วน ความดันโลหิต การออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร 2. การเฝ้าระวัง/คัดกรองเชิงรุก การมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย สนับสนุนแกนนำชุมชน อสม.ดูแลติดตามอย่างต่อเนื่อง 6 การสื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1. มีข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพประชาชนในตำบล : อ้วน บุหรี่ สุรา การออกกำลังกาย อาหาร (หวาน มัน เค็ม) 2. มีการรณรงค์และสื่อสารความรู้สุขภาพ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 3. แนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (3อ 2ส) โดย จนท. สธ./อสม./ นักจัดการสุขภาพ : การออกกำลังกายรับประทานอาหาร (ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผักผลไม้) อารมณ์(ดี) ไม่สูบบุหรี่-ดื่มสุรา 4. สนับสนุนระบบพี่เลี้ยง/เพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 5. มีการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนความรู้ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 6. ผลักดันให้มีบุคคลต้นแบบ ชุมชนต้นแบบ 7. มีการติดตามความรับรู้ ความตระหนัก / ความตั้งใจที่จะปรับเปลี่ยน พฺฤติกรรม 8. มีการติดตามพฤติกรรมสุขภาพ/บริโภค: สูบบุหรี่ ดื่มสุรา พฤติกรรมการบริโภค

22 SIIIM: กรอบการพัฒนาและติดตามประเมินผล
Structure: การจัดให้มี NCD board และ System manager ในระดับเขต จังหวัด และอำเภอ มี case manager ในสถานบริการ Information: ภายใต้ระบบ 21/43 แฟ้ม (ปัจจุบันปรับเป็น 33 แฟ้ม) พื้นที่มีการใช้โปรแกรมอะไร สามารถส่งออกรายงานสู่ Data center ได้อย่างไร มีการคืนข้อมูลและใช้ข้อมูลในแต่ละระดับหรือไม่ อย่างไร Intervention/Innovation: มีการออกแบบการดำเนินการตามมาตรการต่างๆ อย่างไร และมีนวตกรรมอะไรบ้าง Integration: มีการบูรณาการกันในพื้นที่อย่างไร M & E: มีวิธีการอย่างไร ใช้ KPI ใดบ้าง เชื่อมโยงผลลัพธ์สู่การปรับปรุง

23 อุบัติเหตุทางถนน อัตราตายต่อประชากรแสนคนรายเขตบริการสุขภาพ
จำนวนตายตายรายเขตฯ ตามเป้าหมายลดลงร้อยละ 7 จากค่ามัธยฐาน 3 ปี

24 อัตราตาย 3 ปีย้อนหลังในภาพรวมของประเทศยังคงเพิ่มขึ้น และปี 56 มีอัตรา ต่อแสน เขต 4,7,8,9 มีอัตราตายใกล้เคียงหรือ ต่ำเกว่าเป้าหมายประเทศ ในขณะที่เขตอื่นๆ จะสูงกว่าค่อนข้างมาก จึงควรตั้งเป้าหมายระดับเขตให้ตายลดลง 7% จากค่า 3 yrs median ดังจะแสดงในสไลด์ถัดไป

25 จำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ต.ค. 56- มี.ค. 57แบ่งตามเขตสุขภาพ
* ค่าเป้าหมายคำนวณจากการลดจำนวนผู้เสียชีวิตลง ร้อยละ 7 จาก 3-year median ( ) ตามค่าเป้าหมายตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข เมื่อกำหนดเป้าหมายปี 57 ที่ลดลง 7% จากค่ามัธยฐาน 3 ปี แล้วถอดออกมาเป็นจำนวนทั้งปีและในระยะ 6 เดือน ปรากฏว่ามีเพียงเขต 12 ที่จำนวนตายต่ำกว่าเป้าหมายหกเดือน และที่สูงกว่าเป้าหกเดือนค่อนข้างมาก คือ เขต 1,2,6,7,8.9


ดาวน์โหลด ppt สถานะสุขภาพรายเขตบริการสุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google