งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรม และท่องเที่ยว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรม และท่องเที่ยว"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 03763491 ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรม และท่องเที่ยว
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรม และท่องเที่ยว Research Methods in Hotel and Tourism Business เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ จิตต์โสภิณ มีระเกตุ คณะวิทยาการจัดการ 1-2 : 16/23 ม.ค. 58

2 นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำนอกเวลาเรียน - วันจันทร์ เวลา 14.00-16.30 น.
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว หน่วยกิต Research Methods in Hotel and Tourism Business วัน/เวลา/สถานที่ : หมู่ 800 วันศุกร์ เวลา น. ห้อง 10209 หมู่ 850 วันศุกร์ เวลา น. ห้อง 10209 นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำนอกเวลาเรียน - วันจันทร์ เวลา น. - วันพุธ เวลา น. - วันพฤหัสบดี เวลา น. วันหรือเวลาที่เหมาะสม โดยนัดหมายศูนย์การเรียน คณะวิทยาการจัดการ : : Tel

3 วัตถุประสงค์ของวิชา (Objective of Subject) :
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว หน่วยกิต Research Methods in Hotel and Tourism Business วัตถุประสงค์ของวิชา (Objective of Subject) : 1. เพื่อให้นิสิตมีความรู้เกี่ยวกับบทบาท ความสำคัญของการวิจัย และแนวทางการทำวิจัย รวมทั้งการใช้ประโยชน์ของงานวิจัยทางธุรกิจโรงแรม การท่องเที่ยวและบริการ 2. เพื่อให้นิสิตมีความเข้าใจถึงหลักการ ระเบียบวิธีวิจัย ขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงานวิจัยที่ถูกต้องตั้งแต่การกำหนดประเด็นปัญหาจนถึงการเขียนรายงานการวิจัยและเสนอผลงานการวิจัยทางธุรกิจโรงแรม การท่องเที่ยวและบริการ 3. เพื่อให้นิสิตมีทักษะความชำนาญ ความสามารถเชิงการวิเคราะห์และการปฏิบัติทางการวิจัยทุกขั้นตอนตามหลักวิชาการ รวมทั้งการประยุกต์ใช้สถิติเพื่อการวิจัย โปรแกรมสำเร็จรูปและงานวิจัยสำหรับการจัดการและบริหารธุรกิจโรงแรม การท่องเที่ยวและบริการ

4 คำอธิบายรายวิชา (Course Description) :
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว หน่วยกิต Research Methods in Hotel and Tourism Business คำอธิบายรายวิชา (Course Description) : หลักและระเบียบวิธีวิจัย การกำหนดปัญหาการวิจัยด้านการดำเนินธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว ตลอดจนการนำเสนอและรายงานการวิจัย Research principles and methods. Defining research problem of hotel and tourism business including research proposing and presenting.

5 วิธีการสอนและระบบสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ :
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว หน่วยกิต Research Methods in Hotel and Tourism Business วิธีการสอนและระบบสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ : - การบรรยาย ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง/กลุ่ม การฝึกปฏิบัติการ - การค้นคว้าผลงานวิจัย การรวบรวมผล การวิเคราะห์วิจารณ์ การอภิปรายแบบมีส่วนร่วม - การจัดทำโครงการวิจัย เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผลและนำเสนอ โดยที่มีงานค้นคว้าศึกษาเพิ่มเติมความรู้ และการฝึกปฏิบัติการตามการมอบหมายให้ค้นคว้าจัดทำการวิจัยและรายงานผลการวิจัยด้วยตนเอง

6 1. เอกสารประกอบการสอน อุปกรณ์สื่อการสอน : 2. ตำราและหนังสือ
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว หน่วยกิต Research Methods in Hotel and Tourism Business อุปกรณ์สื่อการสอน : 1. เอกสารประกอบการสอน 2. ตำราและหนังสือ 3. เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องฉาย LCD และเครื่องฉาย วัตถุ 3 มิติ 4. เครื่องคอมพิวเตอร์ฝึกปฏิบัติการ โปรแกรมสำเร็จรูป ทางสถิติและเครื่องพิมพ์ 5. แบบฝึกหัด คู่มือการลงรหัส กระดาษลงรหัสและสื่อ บันทึกข้อมูล

7 การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน :
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว หน่วยกิต Research Methods in Hotel and Tourism Business การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน : 1. การมีส่วนร่วมและความสนใจในการเรียน โดยการเข้าร่วม ร้อยละ รับฟังคำบรรยายอย่างสม่ำเสมอและอภิปราย แลกเปลี่ยนประสบการณ์ 2. การทดสอบ แบบฝึกหัดและงานที่มอบหมายในชั้นเรียน ร้อยละ การทำรายงานการวิจัย ร้อยละ การสอบกลางภาค ร้อยละ การสอบปลายภาค ร้อยละ 20 หมายเหตุ : การเปลี่ยนแปลงจะต้องตกลงร่วมกันระหว่างนิสิตและผู้สอน

8 การประเมินผลการเรียน :
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว หน่วยกิต Research Methods in Hotel and Tourism Business การประเมินผลการเรียน : สูงกว่า คะแนน ระดับคะแนน A หรือ 4.0 คะแนน ระดับคะแนน B+ หรือ 3.5 คะแนน ระดับคะแนน B หรือ 3.0 คะแนน ระดับคะแนน C+ หรือ 2.5 คะแนน ระดับคะแนน C หรือ 2.0 คะแนน ระดับคะแนน D+ หรือ 1.5 คะแนน ระดับคะแนน D หรือ 1.0 ต่ำกว่า คะแนน ระดับคะแนน F หรือ 0.0

9 1. นิสิตจะต้องเข้าเรียนไม่น้อยกว่า 36 ชั่วโมง
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว หน่วยกิต Research Methods in Hotel and Tourism Business ข้อกำหนดในการเรียน : 1. นิสิตจะต้องเข้าเรียนไม่น้อยกว่า 36 ชั่วโมง 2. นิสิตที่แต่งกายไม่เรียบร้อยจะไม่ได้รับอนุญาตให้เข้า ชั้นเรียน 3. นิสิตต้องไม่ส่งเสียงรบกวนในขณะสอนอันจะมีผลทำ ให้การเรียนการสอนขาดคุณภาพ 4. นิสิตต้องเข้าร่วมการฝึกปฏิบัติการและการจัดทำ รายงานการวิจัยกลุ่มอย่างสม่ำเสมอ 5. นิสิตเข้าเรียนสาย 2 ครั้ง เท่ากับขาดเรียน 1 ครั้ง

10 เหตุผลการวิจัยธุรกิจ
การวิจัยทำให้เกิดความรู้และความชำนาญที่ต้องการ สำหรับการตัดสินใจที่รวดเร็วภายใต้สภาวะแวดล้อมที่ถูก กำหนด : 1. ปัจจัยในการพิจารณาสภาพแวดล้อมและตัดสินใจดำเนินงาน ทางธุรกิจขององค์กรต่างๆ มีปริมาณมากขึ้น 2. การแข่งขันของธุรกิจมีมาก และรุนแรงขึ้นทั้งระดับภายใน ประเทศและระดับโลก องค์กรจำเป็นต้องปรับตัว 3. องค์ความรู้ต่างๆ ทางธุรกิจเจริญก้าวหน้ามากขึ้น : ระดับ คุณภาพทฤษฎีและแบบจำลอง

11 เหตุผลการวิจัยธุรกิจ
4. สารสนเทศต่างๆ มีอยู่มากมายบนเครือข่ายโลก (World Wide Web, WWW) ข้อเท็จจริงต้องกลั่นกรองและตรวจสอบ 5. องค์กรต่างๆ ทำเหมืองข้อมูล (Data Mining) ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูลจำนวนมากเพื่อหากฎเกณฑ์ การเรียนรู้และหาความรู้ที่ มีอยู่ในระบบฐานข้อมูลสารสนเทศในองค์กร (Internal Databases) 6. ความก้าวหน้าเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ช่วยให้ภาคธุรกิจสร้าง คลังข้อมูล (Data Warehousing) 7. บุคลากร พนักงาน/เจ้าหน้าที่ ผู้ถือหุ้น ลูกค้าและสาธารณชน ทั่วไปสามารถแสวงหาสารสนเทศได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว 8. เทคนิคการวิเคราะห์เชิงปริมาณช่วยการคำนวณได้รวดเร็วขึ้น ในการแก้ไขปัญหาองค์กร

12 เหตุผลการวิจัยธุรกิจ
9. จำนวนและขีดความสามารถเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในการวิจัย เพิ่มขึ้น เช่น โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ เครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบ สารสนเทศและการพัฒนาเทคนิค 10. พฤติกรรมของผู้บริโภคมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาตาม สถานการณ์และความต้องการ 11. ความต้องการลดความเสี่ยงจากสภาพแวดล้อมที่มีความ ซับซ้อนขึ้น ขณะเดียวกัน ปริมาณทรัพยากรมีอย่างจำกัด แต่ความ ต้องการบริโภคหรือใช้บริการมากขึ้น 12. ภาคธุรกิจมีการพัฒนาองค์กรอย่างมาก และเกิดความทันสมัย ประกอบกับภาวะโลกาภิวัตน์ทำให้สามารถเชื่อมโยงของภาคการผลิต การค้า และพาณิชยกรรมทั่วทุกพื้นที่และทั่วโลกใกล้ชิดกันมากขึ้น

13 ภาระหน้าที่/บทบาทของผู้บริหาร
1. การแก้ไขปัญหาทางการจัดการที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะการบริหารการเงิน-บัญชี จะเสนอข้อมูลหรือต้องตัดสินใจเกี่ยวกับ: - การตัดสินใจลงทุน (Investment Decision) - การตัดสินใจแสวงหาเงินทุน (Financial Decision) - การตัดสินใจการจ่ายเงินปันผล (Dividend Decision)

14 ภาระหน้าที่/บทบาทของผู้บริหาร
2. การวางแผนเพื่อกำหนดแนวทางที่เหมาะสมในการ บรรลุตามเป้าหมายองค์กร 3. การให้สารสนเทศประกอบการตัดสินใจขององค์กร 4. การควบคุม และตรวจสอบระบบการเงิน-บัญชีให้มีเสถียรภาพและมั่นคงอย่างถูกต้อง 5. สร้างความต้องการเสนอให้กับลูกค้า ผู้บริโภคหรือ ผู้ใช้บริการแทนที่จะให้ลูกค้าเรียกร้องก่อน

15 ภาระหน้าที่/บทบาทของผู้บริหาร
ปัญหาที่เกิดขึ้น หรือ แผนงาน ที่กำลังพัฒนา การแก้ปัญหา/งาน พัฒนาของผู้บริหาร ข้อมูลที่ถูกต้อง และเชื่อถือได้ ทางเลือก ที่เกิดขึ้น - Primary Data - Secondary Data ทางเลือก ที่เลือก

16 ภาระหน้าที่/บทบาทของผู้บริหาร
สภาพแวดล้อม ปัญหาและ เหตุการณ์ ทางการบริการ แนวทางและ ทางเลือกทาง การบริหาร/จัดการ แนวทางหรือ ทางเลือก ที่ดีที่สุด ข้อมูล ความต้องการ ของลูกค้า/พนักงาน ความพอใจ/ประสิทธิภาพ แผนทางการบริหาร/จัดการ

17 ภาระหน้าที่/บทบาทของผู้บริหาร
คุณสมบัติของข้อมูลที่ใช้ในการวางแผน ความเกี่ยวข้อง (Relevance) ความตรงกับความต้องการของผู้ใช้ (relevance) ข้อมูลที่จัดทำขึ้นมาควรเป็นข้อมูลที่ผู้ใช้ ข้อมูลต้องการใช้ และจำเป็นต้องรู้ / ทราบ หรือเป็นประโยชน์ต่อการจัดทำแผน กำหนดนโยบายหรือตัดสินปัญหานั้นๆ คุณภาพ (Quality) ข้อมูลจะต้องมีความถูกต้องตรงกับความเป็นจริง รายละเอียดครบถ้วน โดยมีความถูกต้องแม่นยำ (accuracy) ข้อมูลที่ดีควรจะมีความถูกต้องแม่นยำสูง หรือถ้ามีความคลาดเคลื่อน (errors) ปนอยู่บ้าง ก็ควรที่จะสามารถควบคุมขนาดของความคลาดเคลื่อนที่ปนมาให้มีความคลาดเคลื่อน น้อยที่สุด ความทันสมัย (Timeless) เป็นข้อมูลที่ทันสมัย (up to date) และทันต่อความต้องการของ ผู้ใช้ ถ้าผลิตข้อมูลออกมาช้า ก็ไม่มีคุณค่าถึงแม้จะเป็นข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยำก็ตาม

18 ภาระหน้าที่/บทบาทของผู้บริหาร
คุณสมบัติของข้อมูลที่ใช้ในการวางแผน ความสมบูรณ์ (Completeness) ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาต้องเป็นข้อมูลที่ให้ข้อจริง (facts) หรือข่าวสาร (information) ที่ครบถ้วนทุกด้าน มิใช่ขาดส่วนหนึ่งส่วนใดไปทำให้นำไปใช้การไม่ได้ ความกระทัดรัด (conciseness) ข้อมูลส่วนใหญ่มักจะกระจัดกระจาย ควรจัดข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่กะทัดรัด ไม่เยิ่นเย้อ สะดวกต่อการใช้และค้นหา ผู้ใช้มีความเข้าใจได้ทันที ความต่อเนื่อง (continuity) การเก็บรวบรวมข้อมูล ควรอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องในลักษณะของอนุกรมเวลา (time-series) เพื่อจะได้นำไปใช้ประโยชน์ในด้านการวิเคราะห์วิจัยหรือหาแนวโน้มในอนาคต

19 ประโยชน์การวางแผนทางธุรกิจ
1. รับรู้แนวทางในการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ กำหนดไว้ 2. ง่ายต่อการควบคุมและประเมินผล 3. สามารถกำหนดกิจกรรมทางธุรกิจช่วงเวลาต่างๆ อย่าง เหมาะสม 4. สามารถคาดการณ์หรือพยากรณ์ปัญหาที่จะเกิดขึ้นได้ล่วงหน้าในอนาคต 5. ดำเนินการแก้ไขปัญหา ปรับปรุงและพัฒนาให้เกิด ประสิทธิภาพ

20 คุณค่าของการมีทักษะการวิจัย
เพื่อเป็นการรวบรวมสารสนเทศต่างๆ ก่อนลงมือในการปฏิบัติงาน ซึ่ง สามารถป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้น เพื่อสามารถใช้ในการศึกษาวิจัยและแสวงหาความรู้ระดับสูงที่มีความลึกซึ้ง ต่อไป เพื่อทำให้เกิดความเข้าใจในการออกแบบวิจัย ขั้นตอนและกระบวน การวิจัย เพื่อสามารถประเมินและแก้ปัญหาทางการบริหารในองค์กรอย่าง ถูกต้องและรวดเร็ว เพื่อสร้างอาชีพเป็นผู้เชี่ยวชาญทางการวิจัยทางการตลาดและธุรกิจ หรือการวิจัยด้านต่างๆ

21 ลำดับขั้นตอนการวิจัย
(The Research Sequence) ระบุสาขาหัวข้อกว้างๆ (identify boardarea) เลือกหัวเรื่องที่จะทำ (select topic) ตัดสินใจเลือกวิธีการที่จะใช้ (decide approach) กำหนดแผนการวิจัย (formulate plan) เก็บรวบรวมข้อมูล (collect information) วิเคราะห์ข้อมูล (analyze data) เสนอผลการวิจัยที่ค้นพบ (present findings)

22 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ให้ได้มาซึ่งความรู้ความเข้าใจยิ่งขึ้น เกี่ยวกับปรากฏการณ์ที่จะไปศึกษา เชื่อถือได้ (reliability) “น่าเชื่อถือ” เกี่ยวกับความคงเส้นคงวา ของคำตอบ แม่นตรง (validity) “ตรงประเด็น” หมายถึง การหาข้อสรุป หรือการดำเนินการวัดที่ตรงเป้า ตรงประเด็นกับสิ่งที่ประสงค์จะวัด

23


ดาวน์โหลด ppt ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรม และท่องเที่ยว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google