งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Infection General pathology Pathophysiology 24 June 12

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Infection General pathology Pathophysiology 24 June 12"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นักศึกษาคิดว่าเกิดอะไรขึ้นกับชายคนนี้ หลังถูกกระดาษบาด 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา

2 Infection General pathology Pathophysiology 24 June 12
สำหรับนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 2 By Amporn Thiengtrongdee

3 วัตถุประสงค์ เป็นพื้นฐานของการเรียนรู้เรื่องโรคต่างๆ
ทราบกระบวนการของการติดเชื้อ ทราบอาการ อาการแสดงของการติดเชื้อ

4 จุลชีพเข้าสู่ร่างกาย
colonization เกิดโรค Normal microbial flora ไม่เกิดโรค จุลชีพเข้าเนื้อเยื่อที่ไม่ควรจะมี Normal microbial flora เนื้อเยื่อตอบสนองต่อจุลชีพ และ Toxin

5 จุลชีพที่อาศัยในร่างกายมนุษย์มี 5 จำพวก
Bacteria Virus Parasite Rickettsia Fungus

6 ความหมายของคำในการติดเชื้อ
Pathogenic microorganism Non Pathogenic microorganism Saprophyte เช่น E. coli ช่วยสร้าง Vit. K ช่วยให้เลือดแข็งตัว Virulent microoganism จุลชีพที่มีความสามารถในการก่อโรคสูง

7 ความหมายของคำในการติดเชื้อ(ต่อ)
Opportunistic microoganism จุลชีพฉวยโอกาส -> candida albicans ทำให้เกิดโรคใน Compromised host (ภูมิคุ้มกันต่ำ) Organotropism อวัยวะที่จุลชีพชอบเข้าไปอยู่ Rabies virus ชอบอยู่ในระบบประสาทกลาง Subclinical Infection ติดเชื้อแต่ไม่มีอาการของโรค เช่น หัดเยอรมัน หรือ เป็น carrier เช่น ทัยฟอยด์

8 ความหมายของคำในการติดเชื้อ(ต่อ)
Latent infection การติดเชื้อแอบแฝง เชื้ออยู่ในร่างกายตลอดเวลา เช่น Herpes simplex เชื้อฝังอยู่ในปมประสาท จะเกิดอาการเมื่อเครียด ติดเชื้อ มีระดู สัมผัสแสงแดดมาก Communicable disease โรคที่ติดต่อไปยังผู้อื่นได้

9 5 Portal of entry ผิวหนังหรือเยื่อเมือก ทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร
ทางเดินปัสสาวะ ทางสายรก

10 สาเหตุของการเจ็บป่วยเมื่อเชื้อเข้าร่างกาย
เชื้อทำร้ายเซลล์ของร่างกายโดยตรง เช่น ไวรัส ปล่อย endotoxin หรือ exotoxin ทำลายเซลล์ เกิดปฏิกิริยาอิมมูน ทำให้เกิด Inflamation เป็นการยับยั้งเชื้อ ถ้ายับยั้งไม่ได้เชื้อเข้ากระแสเลือด ทำให้เกิด Septicemia

11

12 Tonsilitis

13 Herpes simplex

14 ลักษณะทางคลินิก ระยะฟักตัว (Incubation peroid) เกิด Inflamation และปฏิกิริยาภูมคุ้มกัน อาการนำ (Prodomal symptom) ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร เป็นไข้ ระยะการดำเนินของโรค (course of infection) ความรุนแรงของโรคขึ้นอยู่กับ ตัวจุลชีพ ปัจจัยด้านร่างกายของผู้รับเชื้อ

15 ผลของการติดเชื้อ ผลเฉพาะที่ (local effect) เชื้อเข้าสู่ร่างกายน้อย ร่างกายต่อสู้ได้ เกิดภาวะติดเชื้อเฉพาะที่ (localized infection) ถ้าร่างกายไม่สามารถต่อสู้ได้จะเกิดการติดเชื้อแบบกระจายทั่วไป (systemic infection) กระจายโดยตรงสู่เนื้อเยื่อรอบๆบริเวณที่อักเสบ กระจายไปทางหลอดน้ำเหลือง กระจายไปทางกระแสเลือด แล้วไปสู่อวัยวะต่างๆ เกิดปฏิกิริยาสร้างภูมิคุ้มกัน

16 ภาวะที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อ
Bacteremia เชื้อเข้าอยู่ในกระแสเลือดชั่วคราว ไม่มีอาการ แล้วเกิด Phagocytosis ถ้าเกิดจาก virus เรียก viremia Toxemia ภาวะที่มี toxin ในกระแสเลือด เช่น เชื้อโรคคอตีบ Colonebacterium diphtheria, Tetanus เป็น neurotoxin อาจทำให้เกิดอัมพาต Septicemia การมีเชื้อและสารพิษ ในกระแสเลือดและมีอาการทางคลินิกร่วมด้วย

17 การติดเชื้อราบริเวณเล็บ

18 Staphylococcus Infection

19 แผลริมอ่อน ในโรคซิฟิลิส

20 Blood stream Infection

21 Septicemia

22 จุลชีพเข้าสู่กระแสเลือดได้ 3 ทาง
เข้าสู่กระแสเลือดโดยตรง ก้อนThrombus ในเส้นเลือดที่อักเสบฉีกขาดและกระจายไปตามกระแสเลือด หลอดน้ำเหลืองอักเสบ (lymphagitis) ต่อมน้ำเหลืองอักเสบ (lymphadenitis) แล้วปล่อยเชื้อเข้าสู่กระแสเลือดผ่านทางท่อน้ำเหลืองทรวงอก (thoracic duct)

23 พยาธิวิทยาเมื่อเกิด septicemia
Toxin ทำให้หัวใจ ตับ ไต กล้ามเนื้อลายเสื่อมสภาพ ต่อมไทมัสในเด็กเหี่ยวลง ตับม้ามและต่อมน้ำเหลืองมีเนื้อตายเป็นหย่อม (focal necrosis) Reticuloendothelial hyperplasia ของม้าม ตับ ต่อมน้ำเหลืองทำให้โตขึ้น ไขกระดูกมีเซลล์ตัวอ่อนของเม็ดเลือดขาวมากขึ้น บริเวณ sinus มี polymorphs, macrophage มาก

24 พยาธิวิทยาเมื่อเกิด septicemia (ต่อ)
4. ม้ามอักเสบเฉียบพลัน ขนาดโตขึ้น มีเลือดคั่ง มี polymorphs จำนวนมาก 5. เกิดภาวะเลือดคั่งและเลือดออก จากเส้นเลือดฝอยฉีกขาด ทำให้มีเลือดออกที่ผิวหนัง เยื่อบุ และต่อมหมวกไต 6. เม็ดเลือดแดงสลายตัว เกิด Hemolytic anemia 7. เกิดอักเสบเฉียบพลันตามอวัยวะต่างๆ เช่น ลิ้นหัวใจ เยื่อหุ้มสมอง

25 ภาวะที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อ (ต่อ)
Pyemia การติดเชื้อแบบ septicemia มีการเกาะกลุ่มเป็น thrombi ไปตามส่วนต่างๆทำให้เกิดหนอง เชื้อที่พบบ่อยคือ staphylococcus aureus หรือเกาะเป็นกลุ่ม (agglutinated clumps) ขนาดใหญ่ อาจไปอุดเส้นเลือดดำ ทำให้เกิดเนื้อตายจากการขาดเลือด Nosocomial Infection การติดเชื้อในโรงพยาบาล Primary Infection การติดเชื้อเริ่มที่เชื้อใดเชื้อหนึ่ง Secondary Infection เชื้อแรกยังไม่หาย ติดเชื้อใหม่ซ้ำ Mixed Infection การติดเชื้อพร้อมกันหลายๆตัว

26 อาการอาการแสดงของผู้ติดเชื้อ
อาการร่วม อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ครั่นเนื้อครั่นตัว เบื่ออาหาร

27 อาการอาการแสดงของผู้ติดเชื้อ(ต่อ)
อาการสำคัญ ไข้จากเชื้อเข้าร่างกาย เม็ดเลือดขาวหลั่งสาร endogenous pyogen hypothalamus อุณหภูมิสูง  chill เด็กที่อายุ < 6 ขวบอาจชักได้เนื่องจากระบบประสาทยังไม่พัฒนาเต็มที่

28 อาการอาการแสดงของผู้ติดเชื้อ(ต่อ)
อาการสำคัญ การเปลี่ยนแปลงทางโลหิตวิทยา เมื่อเกิดการติดเชื้อเม็ดเลือดแดงและองค์ประกอบเปลี่ยนไป ช่วยในการวินิจฉัยโรคได้ การเปลี่ยนแปลงของเม็ดเลือด Neutrophil เพิ่มมากขึ้นเมื่อติดเชื้อ bacteria Monocyte เพิ่มขึ้นเมื่อติดเชื้อ intracellular parasites Atypical lymphocyte เพิ่มขึ้นเมื่อติดเชื้อไข้เลือดออก เม็ดเลือดแดงแตกจากการติดเชื้อ Plasmodium falciparum Lymphocyte สูง เมื่อติดเชื้อ Virus

29 การเปลี่ยนแปลงทางโลหิตวิทยา(ต่อ)
อัตราการตกตะกอนของเม็ดเลือดแดง (Erythrocytic Sedimentation rate:ESR) จะสูง ในภาวะติดเชื้อ อักเสบ โรคของหลอดเลือดและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เนื้องอก การแข็งตัวของเลือด (blood coagulation)การติดเชื้อแบคทีเรียแกรมลบระยะเฉียบพลัน การแข็งตัวของเลือดเปลี่ยนแปลง ผู้ป่วยที่มีภาวะเกล็ดเลือดต่ำ(thrombocytopenia) จะเกิดภาวะ DIC:Disseminated intravascular coagulation) Plasma protein เพิ่มขึ้น ช่วยให้เม็ดเลือดขาวจับเชื้อกินได้ง่ายขึ้น

30 DIC:Disseminated intravascular coagulation

31 อาการสำคัญ(ต่อ) ผลจากปฏิกิริยาทางอิมมูน เกิดปฏิกิริยาของ antigen และ antibody ทำให้เป็นผื่น หรือปฏิกิริยาต่อตัวเอง (autoimmune disease) การสร้างเซลล์ใหม่ (neoplasia) ทำให้เกิดมะเร็ง หรือเซลล์เปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มจำนวน (hyperplasia) ผลของการติดเชื้อต่อสุขภาพโดยรวม ทำให้ร่างกายทรุดโทรม ซูบผอม

32 ให้นักศึกษาค้นคว้า Staphylococcus แหล่งที่พบเชื้อ Streptococcus
Amoeba Pseudomonas Virus (Influenza H1N1) Virus (HIV) Fungus (ราฉวยโอกาส) Malaria Trichinosis TB แหล่งที่พบเชื้อ ทำให้เกิดโรคอะไรได้บ้าง เกิดพยาธิสภาพอย่างไร เกิดอาการ อาการแสดงอะไร ไม่เกิน 2 หน้า A4

33 Mycobacterium Tuberculosis
แหล่งของเชื้อ เสมหะ นมวัว ฝุ่นละออง ทำให้เกิด วัณโรคปอด วัณโรคต่อมน้ำเหลือง วัณโรคกระดูก วัณโรคผิวหนัง พยาธิสภาพ เชื้อ Mycobacterium Tuberculosis เข้าสู่ร่างกายโดยทางหายใจ..... อาการ ไข้ต่ำๆตอนบ่าย ไอ น้ำหนักลด เหงื่อออกกลางคืน

34 รูปที่. แสดงทางเข้าและทางแพร่ของเชื้อไวรัส ที่มา www. blc. arizona
รูปที่... แสดงทางเข้าและทางแพร่ของเชื้อไวรัส ที่มา Figures/entry.GIF

35 ไปหละ.. ปู้นๆๆ


ดาวน์โหลด ppt Infection General pathology Pathophysiology 24 June 12

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google