งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
ส่งเสริมสุขภาพ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร

2 การส่งเสริมสุขภาพ กระบวนการหลัก 1 2 กระบวนการสนับสนุน
ปัจจัยภายนอก / สภาพแวดล้อมภายนอก ส่วนงานก่อนหน้า/วัตถุดิบ (Supplier) ปัจจัยนำเข้า (Input) ผลผลิต (Output) ผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กระบวนการหลัก 1 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ 2 การส่งเสริมสุขภาพ กระบวนการสนับสนุน (4M+1E+1I)

3 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การส่งเสริมสุขภาพ วัตถุประสงค์ เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดีตามเกณฑ์ รายชื่อกระบวนการ ขอบเขต หน่วยงานเจ้าภาพหลัก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ สำนักอนามัย เริ่มจากการวิเคราะห์ทบทวนข้อมูลผลการดำเนินงานสภาวะแวดล้อม และปัญหา กำหนดทิศทางการดำเนินงาน แผนงาน/โครงการ ตลอดจนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ทั้งในระยะยาวและระยะสั้น ไม่ครอบคลุมการติดตามประเมินผล กสภ. กทส. / สพธ. 2. การส่งเสริมสุขภาพ ครอบคลุมงานด้านสร้างเสริมสุขภาพบุคคลและครอบครัว สาธารณสุขชุมชน สุขภาพจิต โภชนาการ สนับสนุนบริการสุขภาพ และการให้บริการทันตสาธารณสุขตามกลุ่มเป้าหมาย เริ่มจากการพัฒนามาตรฐาน การนิเทศกำกับติดตามการดำเนินการตามมาตรฐาน และการรวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลด้านการส่งเสริมสุขภาพ กทส. / สพธ. / ศบส. / .....

4 การส่งเสริมสุขภาพ กสภ. กทส. กพธ. ศบส. ... 1 2
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพ 1 จัดทำแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ พัฒนาและสื่อสารมาตรฐาน / รูปแบบ / แนวทาง ให้บริการ ให้บริการ ให้บริการ 2 ติดตามประเมินผลการดำเนินการตามมาตรฐาน รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลการส่งเสริมสุขภาพ

5 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ สำนักอนามัย
ผู้เกี่ยวข้อง ความต้องการ ผู้รับบริการ หน่วยงานและบุคลากรของสำนักอนามัย มีทิศทางที่ชัดเจน สามารถเข้าใจ และนำไปปฏิบัติได้ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้บริหาร สอดคล้องกับนโยบาย ประชาชน เห็นผลลัพธ์เชิงสุขภาพ สอดคล้องกับสถานการณ์ หน่วยงานภาครัฐ แผนมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และแผนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รับทราบทิศทางการดำเนินงานที่ชัดเจน ไม่ซ้ำซ้อน ภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการจัดทำแผน ข้อกำหนดที่สำคัญ สอดคล้องกับนโยบาย และแผนที่เกี่ยวข้อง มีทิศทางที่ชัดเจน ได้รับการนำไปปฏิบัติ สอดคล้องกับสถานการณ์ในเชิงพื้นที่ มีการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน มีภาคีเครือข่ายร่วมจัดทำแผน ข้อกำหนดด้านกฎหมาย ประสิทธิภาพของกระบวนการ ความคุ้มค่า ครอบคลุมบริการตาม พ.ร.บ. ผู้สูงอายุ?? การดำเนินการและผลลัพธ์เป็นไปตามเป้าหมายของแผน มีการบูรณาการการส่งเสริมสุขภาพระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เห็นผลลัพธ์เชิงสุขภาพที่ชัดเจน ตัวชี้วัด

6 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ สำนักอนามัย
ข้อกำหนดที่สำคัญ (Requirement) ปัจจัย/สิ่งที่ต้องควบคุมเพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดที่สำคัญ ประเภทปัจจัย/สิ่งที่ต้องควบคุม องค์ความรู้และเทคโนโลยี ขั้นตอน/ระยะเวลาปฏิบัติงาน การควบคุมค่าใช้จ่าย ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล สอดคล้องกับนโยบาย และแผนที่เกี่ยวข้อง นำนโยบาย และแผนที่เกี่ยวข้องมาพิจารณา ก่อนการกำหนดผลที่คาดหวังและเป้าหมาย X 2 มีทิศทางที่ชัดเจน มีแผนระยะยาว ระบุผลที่คาดหวังในเชิงผลลัพธ์ที่ชัดเจนสำหรับแต่ละกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการนำไปปฏิบัติ จัดทำ Strategy map และสื่อสารไปยังผู้ปฏิบัติให้เกิดความเข้าใจในผลที่คาดหวัง แล้วเสร็จก่อนการของบประมาณ (เดือนธันวาคม) 5 All สอดคล้องกับสถานการณ์ในเชิงพื้นที่ มีข้อมูลสถานการณ์สุขภาพเชิงพื้นที่ ตามกลุ่มเป้าหมาย (ตามเกณฑ์) 1 มีการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน ประชุมร่วมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และกำหนดผู้รับผิดชอบร่วม มีภาคีเครือข่ายร่วมจัดทำแผน เชิญภาคีเครือข่ายเข้าร่วมในขั้นตอนต่างๆ ที่เหมาะสม หรือ มีการรับฟังความคิดเห็นจากภาคีเครือข่าย 6 7

7 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ สำนักอนามัย
Flow รายละเอียด ผู้รับ ผิดชอบ ระยะ เวลา มาตรฐานงาน ระบบติดตามประเมินผล บันทึก/แบบฟอร์ม เอกสาร อ้างอิง 1. ประชุมทบทวนผลการดำเนินงาน และวิเคราะห์ประเมินสภาพแวดล้อม กสภ. (กทส. สพธ.) ภายในเดือน ทบทวนข้อมูลผลการดำเนินงานสภาวะแวดล้อม และปัญหา จาก รายงานการติดตามวิเคราะห์สารสนเทศสุขภาพ รายงานผลการปฏิบัติราชการ วิเคราะห์ข้อมูลในเชิงพื้นที่ ตามกลุ่มเป้าหมาย และสภาพปัญหาตามเกณฑ์ จัดลำดับความสำคัญของการปรับปรุงผลการปฏิบัติงาน และสภาพปัญหา โดยใช้เทคนิคในการวิเคราะห์ เช่น Vital few, Pareto, ตาราง 2 ปัจจัย - รายงานการประชุม ที่แสดงผลการดำเนิน งานและวิเคราะห์สภาพ แวดล้อมและปัญหา เกณฑ์สุขภาพแต่ละช่วงวัย 2. ทบทวน/กำหนดทิศทางการดำเนินงาน โดยทบทวนวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ระยะสั้น ระยะยาว และผลการดำเนินการที่คาดหวัง ภายในเดือน มีการทบทวนและประเมินทิศทางในองค์ประกอบต่างๆ ดังนี้ ความสอดคล้องกับนโยบายของผู้บริหาร และภารกิจ ความสอดคล้องกับแผนของหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (อาจระบุ ) สภาพความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ทักษะ/สมรรถนะหลักที่จำเป็น ทบทวน/กำหนดเป้าประสงค์ระยะสั้นและระยะยาว และผลลัพธ์ที่คาดหวังตามกลุ่มเป้าหมาย ผลการกำหนดทิศทางการดำเนินงาน ตามกลุ่ม เป้าหมาย นโยบาย... แผน รายงานการวิเคราะห์ปัญหา Start วิเคราะห์ปัญหา กำหนดทิศทางและผลลัพธ์ที่คาดหวัง A

8 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ สำนักอนามัย
Flow รายละเอียด ผู้รับ ผิดชอบ ระยะ เวลา มาตรฐานงาน ระบบติดตามประเมินผล บันทึก/แบบฟอร์ม เอกสาร อ้างอิง 3. ประชุมกำหนดยุทธศาสตร์ โดยกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย กสภ. (กทส. สพธ.) ภายในเดือน กำหนดตัวชี้วัดในระดับผลลัพธ์ (outcome KPIs) และค่าเป้าหมายโดยพิจารณาผลการดำเนินงานของหน่วยงานเทียบเคียง (ถ้ามี) กำหนดระยะเวลาในการบรรลุเป้าประสงค์ดังกล่าวที่สอดคล้องกับกรอบเวลาในการทบทวนผลการดำเนินงาน ลำดับความสำคัญของเป้าประสงค์ตามเกณฑ์ที่เหมาะสม - ผลการกำหนดยุทธศาสตร์ 4. ประชุมกำหนด กลยุทธ์หลักในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ กำหนดกลยุทธ์หลัก โดย วิเคราะห์ปัจจัยสู่ความสำเร็จ (KSF-Key Success Factor) พิจารณาจุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรค กำหนดกลยุทธ์หลักที่สอดคล้องกับ KSF และผลการ SWOT กำหนดตัวชี้วัดในระดับผลผลิต (output KPIs) และค่าเป้าหมายสำหรับแต่ละกลยุทธ์หลัก ผลการกำหนดกลยุทธ์หลัก 5. จัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map) และสื่อสารทำความเข้าใจ จัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ ตามหลักการของ Balanced scorecard โดยประยุกต์เข้ากับกรอบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ สื่อสารทำความเข้าใจในผลที่คาดหวัง และยุทธศาสตร์กับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง โดยจัดช่องทางการสื่อสารสองทาง และมีการสำรวจประเมินความเข้าใจ (ใคร)ติดตามสรุปผลการประเมินความเข้าใจในยุทธศาสตร์ของบุคลากร แผนที่ยุทธศาสตร์ บันทึกการสื่อสาร ผลการประเมินความเข้าใจฯ A กำหนดประเด็นยุทธ ศาสตร์ กำหนดกลยุทธ์ สื่อสารทิศทาง B

9 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ สำนักอนามัย
Flow รายละเอียด ผู้รับ ผิดชอบ ระยะ เวลา มาตรฐานงาน ระบบติดตามประเมินผล บันทึก/แบบฟอร์ม เอกสาร อ้างอิง 6. กำหนดแผนงาน / โครงการที่จะดำเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ กสภ. (กทส. สพธ.) ภายในเดือน วิเคราะห์กำหนดแผนงาน / โครงการ โดย พิจารณาทั้งในด้านผลผลิต ผลลัพธ์ ความเสี่ยง ความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับโครงการอื่นๆ และงบประมาณที่ใช้ กำหนดผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาดำเนินการให้ชัดเจน วิเคราะห์ความเสี่ยงของแผนงาน/โครงการ จัดลำดับความสำคัญของแผนงาน/โครงการ ประชุมร่วมกับภาคีเครือข่าย (ระบุ ) (ใคร) สุ่มตรวจสอบการวิเคราะห์โครงการ แบบฟอร์มการวิเคราะห์โครงการ 7. รวบรวมแผนงาน / โครงการ และจัดทำแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ ภายในเดือนธ.ค. จัดทำร่างแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพเสนอ มีการรับฟังความคิดเห็นจากภาคีเครือข่าย และปรับปรุงแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ - ร่างแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ สรุปผลการรับฟังความคิดเห็น B กำหนดแผนงาน/โครงการ จัดทำแผนยุทธ ศาสตร์ End หมายเหตุ – อาจพิจารณาเพิ่มเติมประเด็น ดังต่อไปนี้ การวิเคราะห์ ประเมิน และจัดการความเสี่ยง การขออนุมัติกรอบทิศทางการดำเนินงานจากผู้บริหาร ก่อนการสื่อสารไปยังบุคลากรที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์การปรับปรุงกระบวนการ สมรรถนะ และองค์ความรู้ที่จำเป็น การสื่อสารแผนยุทธศาสตร์ไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การติดตามประเมินผล (อาจแยกเป็นอีกกระบวนการหนึ่ง)

10 ประสิทธิภาพของกระบวนการ
การส่งเสริมสุขภาพ ผู้เกี่ยวข้อง ความต้องการ ผู้รับบริการ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทุกวัย มีการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวม พฤติกรรมด้านสุขภาพที่เหมาะสม ไม่เจ็บป่วยเป็นโรคเรื้อรัง มีการส่งเสริมสุขภาพในหลากหลายรูปแบบ น่าสนใจ และทันต่อเหตุการณ์ สื่อด้านการส่งเสริมสุขภาพเข้าใจง่าย และสามารถนำไปปฏิบัติได้สะดวก ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย บุคลากรในศูนย์บริการสาธารณสุข มีมาตรฐาน / แนวทางในการปฏิบัติที่ชัดเจน รับรู้และเข้าใจในมาตรฐาน / แนวทางการปฏิบัติ มาตรฐาน / แนวทางการให้บริการส่งเสริมสุขภาพ เป็นไปตามหลักวิชาการ มีสื่อสำเร็จรูป สำหรับการเผยแพร่ต่อ ไม่ซ้ำซ้อน (หลายกอง ให้ทำหลายอย่าง ซ้ำกัน) ไม่ขัดกับมาตรฐานอื่น โรงเรียน / ชุมชน / ... หน่วยงานภาครัฐอื่นๆ การดำเนินการสอดคล้องและส่งเสริมกัน ไม่ขัดแย้ง มีข้อมูลสถานการณ์ด้านสุขภาพของ กทม. ข้อกำหนดที่สำคัญ ส่งเสริมสุขภาพองค์รวม มีรูปแบบที่หลากหลาย น่าสนใจ และทันต่อเหตุการณ์ เป็นไปตามหลักวิชาการ มีสื่อสำเร็จรูปที่เข้าใจง่าย เผยแพร่ต่อได้ มีมาตรฐาน / แนวทางในการปฏิบัติที่ชัดเจน และเข้าใจง่ายในการให้บริการส่งเสริมสุขภาพ มาตรฐาน / แนวทางไม่ซ้ำซ้อน และไม่ขัดกับมาตรฐานอื่น ส่งเสริมสุขภาพในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย ตามประเด็นที่เป้นปัญหา ในเชิงพื้นที่ ข้อกำหนดด้านกฎหมาย ประสิทธิภาพของกระบวนการ ความคุ้มค่า ส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มเป้าหมายในประเด็นที่เหมาะสมตามสภาพปัญหาและสถานการณ์ด้านสุขภาพของแต่ละพื้นที่ ตัวชี้วัด

11 การส่งเสริมสุขภาพ ข้อกำหนดที่สำคัญ (Requirement)
ปัจจัย/สิ่งที่ต้องควบคุมเพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดที่สำคัญ ประเภทปัจจัย/สิ่งที่ต้องควบคุม องค์ความรู้และเทคโนโลยี ขั้นตอน/ระยะเวลาปฏิบัติงาน การควบคุมค่าใช้จ่าย ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ส่งเสริมสุขภาพองค์รวม มีการจัดทำมาตรฐาน/แนวทางที่ประชุมร่วมหน่วยงานด้านการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อบูรณาการการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวม X 3 มีรูปแบบที่หลากหลาย น่าสนใจ และทันต่อเหตุการณ์ ติดตามสถานการณ์และสภาพปัญหาด้านสุขภาพอย่างต่อเนื่อง (มีการเฝ้าระวัง (HOW????) – เรื่องร้องเรียน / ข่าว / โรค / ฯลฯ) ติดตามรูปแบบการส่งเสริมสุขภาพของพื้นที่อื่นๆ 1 เป็นไปตามหลักวิชาการ (ทั้งการทำมาตรฐานหลักเกณฑ์ และการบริการส่งเสริมสุขภาพ) อ้างอิงมาตรฐานระดับสากล หรือแหล่งข้อมูลทางวิชาการต่างๆ ติดตามกำกับดูแลการส่งเสริมสุขภาพตามมาตรฐาน/หลักเกณฑ์ที่กำหนดขึ้น 5 11 มีสื่อสำเร็จรูปที่เข้าใจง่าย เผยแพร่ต่อได้ วิเคราะห์รูปแบบของสื่อที่เหมาะสมกับเนื้อหาและกลุ่มเป้าหมาย ทดลอง สอบทานความเข้าใจในสื่อ 9 มีมาตรฐาน / แนวทางในการปฏิบัติที่ชัดเจน และเข้าใจง่ายในการให้บริการส่งเสริมสุขภาพ มีการทบทวนและทดลองใช้ โดยผู้ใช้มาตรฐาน มีประเด็นปัญหาการใช้มาตรฐาน/แนวทางที่เกิดขึ้น มีตัวอย่างประกอบ ที่ครอบคลุมกรณีศึกษาต่างๆ มีกระบวนการสื่อสาร สร้างความเข้าใจกับผู้นำมาตรฐานไปใช้ 6 มาตรฐาน / แนวทางไม่ซ้ำซ้อน และไม่ขัดกับมาตรฐานอื่น มีการศึกษาและสรุปประเด็นมาตรฐาน/หลักเกณฑ์ของหน่วยงานต่างๆ ด้านการส่งเสริมสุขภาพเป็นประเด็นที่ชัดเจน ตามหน่วยงานรับผิดชอบ (Matrix) 2 ส่งเสริมสุขภาพในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย ตามประเด็นที่เป้นปัญหา ในเชิงพื้นที่ มีข้อมูลสถานการณ์และสภาพปัญหาด้านสุขภาพตามวัยในเชิงพื้นที่ มีการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา

12 การส่งเสริมสุขภาพ Start วิเคราะห์ปัญหา วิเคราะห์รายการมาตรฐาน
Flow รายละเอียด ผู้รับ ผิดชอบ ระยะ เวลา มาตรฐานงาน ระบบติดตามประเมินผล บันทึก/แบบฟอร์ม เอกสาร อ้างอิง 1. รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ รวบรวมข้อมูล เช่น ข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ มาตรฐาน / หลักเกณฑ์ / กฎหมายใหม่ๆ ทั้งในและต่างประเทศ ผลการใช้มาตรฐาน / หลักเกณฑ์ (การดำเนินการตาม และปัญหาจากการใช้) Checklist ข้อมูลที่ต้องรวบรวม - 2. วิเคราะห์รายการมาตรฐานที่ต้องมี / ทบทวน วิเคราะห์รายการมาตรฐาน/หลักเกณฑ์/แนวทางที่ควรมี โดยพิจารณาจาก ยุทธศาสตร์ และพันธิจ ภารกิจ หน้าที่ที่รับผิดชอบ สถานการณ์ แนวโน้มสุขภาพ เปรียบเทียบกับหน่วยงาน/ประเทศอื่น คุณภาพการให้บริการ และข้อร้องเรียน ผลการปฏิบัติตามมาตรฐาน การเปลี่ยนแปลงของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ระบุวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมายของมาตรฐานแต่ละฉบับที่จะจัดทำ/ทบทวน ตารางวิเคราะห์รายการมาตรฐาน รายการมาตรฐาน/ หลักเกณฑ์ /แนวปฏิบัติที่มีอยู่ ข้อมูลตามที่ระบุในมาตรฐานงาน 3. คัดเลือกและแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนามาตรฐาน คกก. ได้รับการแต่งตั้งโดย..... คณะกรรมการ ต้องมีจำนวนไม่น้อยกว่า คน โดยมีองค์ประกอบและคุณสมบัติตามที่ระบุใน กำหนดองค์ประกอบและคุณสมบัติของ คกก. พัฒนามาตรฐาน แบบประเมินคุณสมบัติ คกก. คำสั่งแต่งตั้ง คกก. พัฒนามาตรฐาน กำหนดองค์ประกอบและคุณสมบัติของ คกก. พัฒนามาตรฐาน Start วิเคราะห์ปัญหา วิเคราะห์รายการมาตรฐาน แต่งตั้ง คกก.พัฒนามาตรฐาน A

13 การส่งเสริมสุขภาพ Flow รายละเอียด ผู้รับ ผิดชอบ ระยะ เวลา มาตรฐานงาน
ระบบติดตามประเมินผล บันทึก/แบบฟอร์ม เอกสาร อ้างอิง 4. กำหนดกรอบมาตรฐาน พร้อมทั้งจัดทำแผนกิจกรรม ระยะเวลา และผู้รับผิดชอบในการดำเนินการแต่ละกิจกรรม กำหนดหัวข้อที่ต้องมีในมาตรฐาน เช่น วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย นิยาม/คำจำกัดความ ประเด็นสำคัญของมาตรฐาน/หลักเกณฑ์/แนวทาง การนำไปใช้ การติดตามการใช้มาตรฐานรูปแบบต่างๆ การติดตามประเมินผลที่คาดหวังตามวัตถุประสงค์ แหล่งข้อมูลอ้างอิง แผนการจัดทำ/ทบทวนมาตรฐาน ระบุกิจกรรมตั้งแต่การรวบรวมข้อมูล ยกร่าง ทดลองใช้ ปรับปรุง ประกาศใช้ และดำเนินการสื่อสารประชาสัมพันธ์ คกก. พัฒนามาตรฐานทบทวนหัวข้อในร่างมาตรฐานว่าเป็นไปตามกรอบที่กำหนดในข้อ 4. กรอบหัวข้อของมาตรฐาน แผนการจัดทำ/ทบทวนมาตรฐาน - 5. ยกร่างมาตรฐาน/หลักเกณฑ์/แนวทาง จัดทำตารางสรุปรายละเอียดแต่ละหัวข้อเปรียบเทียบกับมาตรฐานสากล และ/หรือมาตรฐานจากหน่วยงานอื่นที่นำมาอ้างอิง ตรวจสอบเนื้อหาในแต่ละประเด็นว่าไม่ขัดแย้งกับมาตรฐานอื่นๆ จัดทำตารางสรุปการแก้ปัญหาของการไม่สามารถดำเนินการของมาตรฐาน/หลักเกณฑ์/แนวทางอื่น (ข้อมูลจากข้อ 1.) อ้างอิงแหล่งที่มาของเนื้อหาในแต่ละประเด็นให้ชัดเจน กรณีปรับปรุง – ให้ระบุประเด็นที่แตกต่างจากมาตรฐาน/หลักเกณฑ์/แนวทางเดิม ตารางปรียบเทียบเนื้อหามาตรฐาน ตารางสรุปการแก้ปัญหา ร่างมาตรฐาน ผลการใช้มาตรฐาน / หลักเกณฑ์ (การดำเนินการตาม และปัญหาจากการใช้) – จากข้อ 1. A กำหนดกรอบมาตรฐาน จัดทำ/ทบทวนมาตรฐาน B

14 การส่งเสริมสุขภาพ Flow รายละเอียด ผู้รับ ผิดชอบ ระยะ เวลา มาตรฐานงาน
ระบบติดตามประเมินผล บันทึก/แบบฟอร์ม เอกสาร อ้างอิง 6. ทดลองใช้มาตรฐานเพื่อประเมิน ความสามารถในการนำไปใช้ที่ครอบคลุมกรณีต่างๆ ความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ทดลองใช้มาตรฐานโดยมีผู้ปฏิบัติจริงเข้าร่วม ทดลองใช้ในกรณีตัวอย่างที่ครอบคลุมสถานการณ์/กลุ่มตัวอย่างต่างๆ สอบทานความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการพัฒนา/ทบทวนมาตรฐาน สรุปผลการทดลองใช้มาตรฐานในกรณีต่างๆ พร้อมประเด็นการปรับปรุงที่จำเป็น (ถ้ามี) บันทึกและสรุปผลการประเมิน/สอบทานมาตรฐานในกรณีต่างๆ ร่างมาตรฐาน 7. ปรับปรุงมาตรฐานตามประเด็นการปรับปรุง ปรับปรุงมาตรฐานตามประเด็นการปรับปรุงที่ได้จากการทดลองใช้ ทดลองใช้มาตรฐานซ้ำ บันทึกการปรับปรุงมาตรฐาน บันทึกการสอบทานมาตรฐานซ้ำ 8. ประกาศใช้มาตรฐาน จัดทำและขออนุมัติใช้มาตรฐานตามประเภทและลำดับขั้นของเอกสาร ดังนี้ ...... ระเบียบ กทม. เสนอผู้ว่าฯ พิจารณาอนุมัติ ข้อบัญญัติ กทม. เสนอผู้ว่า เพื่อนำเสนอสภา กทม. พิจารณาอนุมัติ ปรับปรุงทะเบียนมาตรฐาน / หลักเกณฑ์ / แนวทาง เอกสารประกาศใช้มาตรฐาน ทะเบียนมาตรฐาน/ หลักเกณฑ์/ แนวทาง B ทดลอง ใช้ ไม่ต้องปรับปรุง ต้องปรับปรุง ปรับปรุง ประกาศ ใช้ C

15 การส่งเสริมสุขภาพ Flow รายละเอียด ผู้รับ ผิดชอบ ระยะ เวลา มาตรฐานงาน
ระบบติดตามประเมินผล บันทึก/แบบฟอร์ม เอกสาร อ้างอิง 9. สื่อสารมาตรฐาน / หลักเกณฑ์ / แนวทางไปยังกลุ่มเป้าหมายในรูปแบบต่างๆ ดำเนินการสื่อสารมาตรฐาน ตามคู่มือการปฏิบัติงานเรื่องการสื่อสารประชาสัมพันธ์ วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายและจัดทำสื่อและช่องทางการสื่อสารที่เหมาะสมกับเนื้อหาและกลุ่มเป้าหมาย ทดลอง และสอบทานความเข้าใจในสื่อ โดยกลุ่มเป้าหมาย ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการสื่อ สำนักอนามัย ผลการวิเคราะห์สื่อ ผลการประเมินสื่อ คู่มือการปฏิบัติงานเรื่องการสื่อสารประชาสัมพันธ์ 10.ให้บริการส่งเสริมสุขภาพ 11.ติดตามประเมินผลการใช้มาตรฐาน วางแผนและดำเนินการติดตามประเมินผลการใช้มาตรฐาน ในด้าน การนำมาตรฐานไปใช้ นำมาตรฐานไปใช้หรือไม่ นำมาตรฐานไปใช้ได้ถูกต้อง เหมาะสมหรือไม่ มีปัญหาอุปสรรคในการใช้งานหรือไม่ ผลลัพธ์ที่เกิดจากการนำมาตรฐานไปใช้ โดยสอบทานเทียบกับวัตถุประสงค์ของการจัดทำมาตรฐาน ผลลัพธ์และสถานการณ์ด้านสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย ในการวางแผนการติดตาม ต้องมีการประเมินความเสี่ยงและจัดลำดับความสำคัญในการติดตาม ตามระดับปัญหาด้านการส่งเสริมสุขภาพ ..... (ใคร)ตรวจสอบผลการติดตามประเมินผลการใช้มาตรฐานในประเด็นต่างๆ ตามมาตรฐานงาน ตามระยะเวลาในแผน ผลการวิเคราะห์ความเสี่ยง แผนและรูปแบบการติดตามประเมินผล รายงานการติดตามประเมินผล ข้อมูลสถานการณ์ด้านการส่งเสริมสุขภาพ C สื่อสารมาตรฐาน ให้บริการ ติดตามประเมิน ผล D

16 การส่งเสริมสุขภาพ Flow รายละเอียด ผู้รับ ผิดชอบ ระยะ เวลา มาตรฐานงาน
ระบบติดตามประเมินผล บันทึก/แบบฟอร์ม เอกสาร อ้างอิง 12.วิเคราะห์ผลการนำมาตรฐานไปใช้ วิเคราะห์ข้อมูลการติดตามประเมินผลเพื่อสรุปผลการส่งเสริมสุขภาพ ตามมุมมองต่างๆ ทั้งในเชิงพื้นที่ ตามกลุ่มวัย กลุ่มเป้าหมาย ประเภท/กิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพ ดังนี้ การนำมาตรฐานไปใช้ นำมาตรฐานไปใช้หรือไม่ นำมาตรฐานไปใช้ได้ถูกต้อง เหมาะสมหรือไม่ มีปัญหาอุปสรรคในการใช้งานหรือไม่ ผลลัพธ์ที่เกิดจากการนำมาตรฐานไปใช้ โดยสอบทานเทียบกับวัตถุประสงค์ของการจัดทำมาตรฐาน ผลลัพธ์และสถานการณ์ด้านสุขภาพ แสดงทั้งข้อมูลในอดีต ปัจจุบัน และคาดการณ์ พยากรณ์ หรือจำลองเหตุการณ์ในอนาคต วิเคราะห์หาปัญหาและข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นในการใช้มาตรฐาน การสื่อสาร การให้บริการ และการติดตามประเมินผล จัดทำข้อเสนอแนะ เพื่อปรับปรุงมาตรฐาน การสื่อสาร รวมทั้งกิจกรรมในการส่งเสริมสุขภาพ และการติดตามประเมินผลที่สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ นำเสนอ/รายงานผลต่อผู้บริหารสำนัก รายงานการวิเคราะห์ลสรุปผลการส่งเสริมสุขภาพ D วิเคราะห์และสรุปผล End


ดาวน์โหลด ppt สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google