งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเสริมสร้างเครือข่าย ราชการใสสะอาด ฐานกฎหมาย/นโยบายในการส่งเสริมจริยธรรม มุมมองจากสังคมโลก มุมมองในสังคมไทย การเสริมสร้างครือข่ายราชการใสสะอาด.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเสริมสร้างเครือข่าย ราชการใสสะอาด ฐานกฎหมาย/นโยบายในการส่งเสริมจริยธรรม มุมมองจากสังคมโลก มุมมองในสังคมไทย การเสริมสร้างครือข่ายราชการใสสะอาด."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเสริมสร้างเครือข่าย ราชการใสสะอาด ฐานกฎหมาย/นโยบายในการส่งเสริมจริยธรรม มุมมองจากสังคมโลก มุมมองในสังคมไทย การเสริมสร้างครือข่ายราชการใสสะอาด

2 วัตถุประสงค์: ๑.สนับสนุนให้ส่วนราชการสามารถดำเนิน กิจกรรมต่างๆ ภายใตัศูนย์ประสานราชการ ใสสะอาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒. สนับสนุนให้ส่วนราชการสามารถดำเนิน ตามตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติ ราชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3 Good Governance พระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 Efficiency Value-for-money Effectiveness Quality Accountability Participation Transparency Responsiveness Decentralization Rule of law รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐ รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐ นโยบายในการส่งเสริมจริยธรรม ฐานกฎหมาย/ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ พลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕

4 ข้าราชการพลเรือนสามัญจะต้องถือและ ปฏิบัติตามระเบียบและแบบธรรมเนียม ของทางราชการและจรรยาบรรณของ ข้าราชการพลเรือน นโยบายในการส่งเสริมจริยธรรม ฐานกฎหมาย/ พระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๙๑ พระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๙๑

5 รัฐต้องจัดทำมาตรฐานทางคุณธรรมและ จริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ข้าราชการและพนักงานหรือลูกจ้างอื่นของรัฐ เพื่อป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบและ เสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ นโยบายในการส่งเสริมจริยธรรม ฐานกฎหมาย/ รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๗๗ รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๗๗

6 ซึ่งครอบคลุมใน ๓ ประเด็น คือ การเสริมสร้างจิตสำนึกราชการใสสะอาด การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ และการจัดการเมื่อมีกรณีทุจริตเกิดขึ้น นโยบายในการส่งเสริมจริยธรรม ฐานกฎหมาย/ มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๔๓ เห็นชอบหลักการแผนปฏิบัติการสร้างราชการใส สะอาด กำหนดให้กระทรวง ทบวง กรม หน่วยงาน ของรัฐจัดทำแผนกลยุทธ์หน่วยงานใสสะอาด

7 นโยบายในการส่งเสริมจริยธรรม ฐานกฎหมาย/ แผนบริหารราชการแผ่นดิน (พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๑) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๖ง แผนบริหารราชการแผ่นดิน (พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๑) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๖ง นโยบายข้อ 6 นโยบายพัฒนากฎหมาย ดำเนินการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในวงราชการอย่างต่อเนื่องให้เป็น ระบบราชการที่โปร่งใสและสะอาด วางระบบการตรวจสอบและประเมินผลสัมฤทธิ์ ตามมาตรฐานทางคุณธรรม และจริยธรรม พัฒนากระบวนการติดตาม ตรวจสอบ ลงโทษผู้ทุจริตอย่างเด็ดขาด เปิดเผยข้อมูล และปรับปรุงกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง สนับสนุนให้ภาคประชาชนให้มีส่วนร่วม ปลูกฝังจิตสำนึกและค่านิยมของสังคม ร่วมกันต่อต้านการทุจริต ประพฤติ มิชอบ

8 แนวทางดำเนินการป้องกันและปราบปรามการทุจริตตามแผนบริหารราชการแผ่นดิน ผู้รับผิดชอบ เป้าประสงค์เชิง ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์หลัก แนวทางดำเนินการ เจ้าภาพ กลยุทธ์หลัก หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง 6. ประชาชนมีความ เชื่อถือในกลไก ภาครัฐสูงขึ้น และ หน่วยงานภาครัฐทุก ระดับมีการ ปฏิบัติงานที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ 6.4.1 วางมาตรการการ ป้องกันและ ปราบปรามการทุจริต ประพฤติมิชอบในวง ราชการ 1) กระทรวงยุติธรรมกำลังดำเนินการ จัดตั้งหน่วยงานตรวจสอบการทุจริต คอร์รัปชันของฝ่ายบริหารขึ้น 2) ให้มีการพัฒนากระบวนการติดตาม ตรวจสอบ ลงโทษผู้ทุจริตให้มี ประสิทธิภาพ 3) ให้มีการดำเนินการลงโทษผู้ทุจริต รายใหญ่อย่างจริงจัง 4) วางกรอบพฤติกรรม เสริมสร้าง ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมอัน พึงประสงค์ของข้าราชการ กระทรวง ยุติธรรม ทุกส่วน ราชการ

9 แนวทางดำเนินการป้องกันและปราบปรามการทุจริตตามแผนบริหารราชการแผ่นดิน ผู้รับผิดชอบ เป้าประสงค์เชิง ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์หลัก แนวทางดำเนินการ เจ้าภาพ กลยุทธ์หลัก หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง 6.4.2 สนับสนุนให้ภาค ประชาชนและเจ้าหน้าที่ ของรัฐมีส่วนร่วมในการ รณรงค์อย่างจริงจัง ปลูกฝังจิตสำนึกและ ค่านิยมของสังคมของ สังคมให้ประชาชนร่วมกัน ต่อต้านการทุจริตและการ ประพฤติมิชอบ 1) จัดทำเว็บไซต์ราชการใสสะอาด 2) มีการบริหารจัดการเครือข่ายภาคประชาชน ภาคเอกชน และภาคราชการ 3) ร่วมกับมูลนิธิประเทศไทยใสสะอาด องค์กร ภาคประชาชน และสื่อมวลชนในการรณรงค์ อย่างจริงจัง 4) รณรงค์ปลูกฝังจิตสำนึกของผู้บริหาร ระดับสูง 5) รณรงค์ปลูกฝังจิตสำนึกและค่านิยมของ สังคมของสังคมให้ประชาชนร่วมกันต่อต้าน การทุจริตและการประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ ของรัฐ โดยการสร้างสรรค์สื่อ ทั้งทางสื่อ สิ่งพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ เว็บไซต์ สำนักงาน ก. พ. ทุกส่วน ราชการ

10 แนวทางดำเนินการป้องกันและปราบปรามการทุจริตตามแผนบริหารราชการแผ่นดิน

11 ผู้รับผิดชอบ เป้าประสงค์เชิง ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์หลัก แนวทางดำเนินการ เจ้าภาพ กลยุทธ์หลัก หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง 6.4.4 สร้างและ พัฒนาความโปร่งใส ในการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานภาครัฐ ทุกระดับ 1) จัดทำและพัฒนาเกณฑ์วัดความโปร่งใสของ หน่วยงาน 2) ส่งเสริมและสนับสนุนจัดทำและดำเนินการตาม แผนกลยุทธ์ราชการใสสะอาด จัดตั้งศูนย์ประสาน ราชการใสสะอาด 3) ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดทำและปฏิบัติ ตามมาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม 4) ดำเนินการโครงการเสริมสร้างจริยธรรมป้องกัน ทุจริต นำจังหวัดใสสะอาด โดยให้ทุกภาคส่วนสังคม มีส่วนร่วม 5) จัดให้มีการประกาศเกียรติคุณและเผยแพร่ผลการ ดำเนินงานในด้านการเสริมสร้างราชการใสสะอาด สำนักงาน ก. พ. ทุกส่วน ราชการ

12 แนวทางดำเนินการป้องกันและปราบปรามการทุจริตตามแผนบริหารราชการแผ่นดิน

13 มาตรา ๗๒ ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องพัฒนาตนเองให้มีจรรยาบรรณและรักษา จรรยาบรรณตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับ ก.พ. ว่าด้วยจรรยาบรรณของข้าราชการพลเรือน ซึ่งกำหนดการอันพึงปฏิบัติและการอันไม่พึงปฏิบัติไว้เพื่อให้การปฏิบัติราชการเกิด ประโยชน์สูงสุด สัมฤทธิ์ผลต่อภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพ และคุ้มค่าในเชิงภารกิจของ รัฐและเพื่อรักษาเกียรติ์ศักดิ์ของข้าราชการ มาตรา ๗๓ ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดปฏิบัติตามจรรยาบรรณที่กำหนดไว้ในข้อบังคับ ก.พ. ว่าด้วยจรรยาบรรณของข้าราชการพลเรือน ผู้นั้นจะได้รับบำเหน็จความชอบตาม มาตรา ๖๓ ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดไม่ปฏิบัติตามจรรยาบรรณที่กำหนดไว้ในข้อบังคับ ก.พ. ว่าด้วยจรรยาบรรณของข้าราชการพลเรือน ผู้บังคับบัญชาอาจตักเตือนผู้นั้นหรือนำไป ประกอบการพิจารณาแต่งตั้ง เลื่อนเงินเดือน ตลอดจนพัฒนาข้าราชการพลเรือนก็ได้ มาตรา ๖๓ ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดปฏิบัติตนเหมาะสมกับการเป็นข้าราชการและ ปฏิบัติราชการมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลในระดับอันเป็นที่พึงพอใจของทาง ราชการ ถือว่าผู้นั้นมีความชอบ จะได้รับบำเหน็จความชอบ ซึ่งอาจเป็นคำชมเชย เครื่อง เชิดชูเกียรติ รางวัล หรือการได้เลื่อนเงินเดือนตามควรแก่กรณี นโยบายในการส่งเสริมจริยธรรม ฐานกฎหมาย/ ร่าง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕....

14 มุมมองจากสังคมโลก เน้นความโปร่งใส

15 RankCountry CPI 2004 Score 1 3 12Singapore0.5 10 2 Hong Kong 11 Taiwan 3.5 9 Japan 6.1 8South Korea6.67 5China7.33 5THAILAND7.33 India8.9 Vietnam8.67 Indonesia9.25 Malaysia57.33 Hong Kong-based Political & Economic Risk Consultancy Ltd. Index 2004 0 = Highly clean 10 = Highly corrupt 3.6 4Philippines8.33

16 RankCountry CPI 2005 Score 1 4 12 Singapore 0.65 10 3 Hong Kong 11 Taiwan 3.46 9 Japan 6.15 8 South Korea 6.50 5 China 7.68 6THAILAND7.20 Vietnam 8.65 India 8.63 Indonesia 9.10 Malaysia 7 6.80 Hong Kong-based Political & Economic Risk Consultancy Ltd. Index 2005 0 = Highly clean 10 = Highly corrupt 3.50 2 Philippines 8.80

17 RankCountry CPI 2004 Score 1Finland9.7 3 New Zealand 9.5 5Singapore9.3 118.6 69.2 16 UK 2 Denmark 9.6 7Switzerland9.1 17 Hong Kong USA7.5 RankCountry CPI 2004 Score 24 Taiwan 6.9 35 Japan 5.6 47South Korea4.5 71China3.4 64THAILAND3.6 90India2.8 102Vietnam2.6 133Indonesia2.0 145Bangladesh1.5 Malaysia395.0 Transparency International Corruption Perceptions Index 2004 10 = Highly clean 0 = Highly corrupt 0 = Highly corrupt TransparencyInternational Sweden 8.0 64Mexico3.6

18 RankCountry CPI 2005 Score 1Iceland9.7 2 Finland 9.6 4Denmark9.5 118.6 59.4 15 UK 2 New Zealand 9.6 11Netherlands8.6 17 Hong Kong USA7.6 RankCountry CPI 2005 Score 21 Taiwan 6.3 32 Japan 5.9 40South Korea5.0 78China3.2 59THAILAND3.8 88India2.9 107Vietnam2.6 137Indonesia2.2 158Bangladesh1.7 Malaysia395.1 Transparency International Corruption Perceptions Index 2005 10 = Highly clean 0 = Highly corrupt 0 = Highly corrupt TransparencyInternational Singapore 8.3 65Mexico3.5

19 The Corruption Perception Index (CPI) by TI THAILAND’s Rank CPI RankYear Coverage(countries) 1996 1997 1998 1999 2000 2001 2002 3.33 3.06 3.00 3.20 37 39 61 68 61 64 54 52 85 99 98 91 102 20033.3070133 10 Points = Most Transparent 0 Point 0 Point = Most Corruption 20043.3664145 20053.3859158

20 มุมมองในสังคมไทย การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีมาตรฐานทางคุณธรรมจริยธรรมการเสริมสร้างราชการใสสะอาด

21 Office of the Civil Service Commission The Civil Service Training Institute จิตสำนึกราชการใสสะอาด ป้องกันการทุจริต (บริหารใสสะอาด) จัดการกรณีทุจริต เร่งรัดดำเนินการทางวินัย ส่งเสริมบุคคลภายนอกมี ส่วนร่วมตรวจสอบ มีช่องทางแจ้งเบาะแสทุจริต แจ้งรายชื่อเอกชนที่ได้ รับคำพิพากษาว่าทุจริต กรอบการสร้าง ความโปร่งใสและใสสะอาด ของหน่วยงานภาครัฐ จัดทำและบังคับใช้มาตรฐานทาง คุณธรรมและจริยธรรม เผยแพร่ รณรงค์ และส่งเสริมการ ปฏิบัติตามจรรยาบรรณ และ มาตรฐานฯ ยกย่องเชิดชูคนดี โดยเชื่อมโยง ความประพฤติ ผลงาน กับ การให้รางวัล ลดการใช้ดุลยพินิจ ของบุคคล ใช้การบริหารงานบุคคลตามหลักคุณธรรม เสริมสร้างจิตสำนึกความพร้อมรับผิด ส่งเสริมให้ผู้บังคับบัญชาเป็นแบบอย่างที่ดี

22 หมวด 2 เกิดประโยชน์สุขของประชาชน หมวด 8 มีการประเมินผลการปฏิบัติ ราชการอย่างสม่ำเสมอ หมวด 3 เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจ ของภาครัฐ หมวด 7 ประชาชนได้รับการอำนวยความ สะดวกและได้รับการตอบสนอง ความต้องการ หมวด 4 มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่า ในเชิงภารกิจของรัฐ หมวด 5 ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน เกินความจำเป็น หมวด 6 มีการปรับปรุงภารกิจของ ส่วนราชการให้ทันต่อเหตุการณ์ หมวด 1 การบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี

23 มาตรฐานทางคุณธรรม และจริยธรรม คุณธรรม หมายถึง สภาพคุณงามความดี หมายถึง สภาพคุณงามความดี จริยธรรม หมายถึง ธรรมที่เป็นข้อประพฤติ หมายถึง ธรรมที่เป็นข้อประพฤติ ปฏิบัติ ศีลธรรม กฎศีลธรรม ปฏิบัติ ศีลธรรม กฎศีลธรรม

24 มาตรฐานทางคุณธรรม และจริยธรรม “หลักการหรือแนวทางปฏิบัติที่ องค์กรประมวลขึ้นให้สมาชิกยึดถือปฏิบัติ เพื่อเป็นเครื่องกำกับความประพฤติของ คนในองค์กรหรืออาชีพเดียวกันให้อยู่ ในความถูกต้องดีงาม”

25 ปัจจัยที่ควรนำมาพิจารณาประกอบ การจัดทำมาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม  ภารกิจหลักองค์กร  หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. ๒๕๔๕  พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี พ.ศ ๒๕๔๖  ค่านิยมสร้างสรรค์ ๕ ประการ  พฤติกรรมการกระทำผิดที่พบบ่อยหรือล่อแหลมต่อการกระทำผิด ควรมีรายละเอียดที่ครอบคลุมเนื้อหาตามทฤษฎีจรรยาบรรณ - ผลลัพธ์/อรรถประโยชน์ (Results or Utilities) - ความสัมพันธ์ (Relationships) - กฎ ระเบียบ คำมั่น (Rules) - วิธีการ (Means)

26 หลักการสร้างมาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม การมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่ เปิดโอกาสให้มีการแสดงความคิดเห็น ต้องเขียนเป็นเชิงพฤติกรรม กำหนดเป็นข้อพึงปฏิบัติและอยู่ในวิสัยที่จะปฏิบัติได้ สั้น กระชับ เข้าใจง่าย ไม่ควรซ้ำกับแนวทางปฏิบัติที่ระบุไว้แล้วในวินัย และ จรรยาบรรณของข้าราชการพลเรือน

27 มาตรการในการนำสู่การปฏิบัติ เป็นองค์ประกอบสำคัญในการสรรหา เลื่อนขั้น เงินเดือน และเลื่อนตำแหน่ง เป็นเงื่อนไขในการปฐมนิเทศและสอดแทรกใน หลักสูตรการฝึกอบรมทุกระดับ ยกย่องเชิดชูเกียรติผู้ประพฤติปฏิบัติดี ให้เป็นที่ปรากฏ อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง ใช้เป็นเครื่องมือในการสร้างวัฒนธรรมองค์กร ผู้บังคับบัญชาเป็นต้นแบบที่ดี (role Model) ด้านการบริหาร

28 มาตรการในการนำสู่การปฏิบัติ (ต่อ) สร้างความรู้และสร้างความตระหนัก (Awareness) ใช้มาตรการการยกย่องให้รางวัล การสร้างแบบอย่างที่ดี การตั้งชมรม/สร้างเครือข่าย จัดกิจกรรมรณรงค์ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ การศึกษาดูงาน ด้านปัจจัยสนับสนุน

29 ปัจจัยสู่ความสำเร็จ 1. ทุกคนมีความเข้าใจเนื้อหาและความหมายที่กำหนด ไว้อย่างถ่องแท้ (Understanding) 2.ทุกคนมีความยอมรับ ศรัทธาต่อคุณค่าของมาตรฐาน ทางคุณธรรมและจริยธรรมที่กำหนด และนำมายึดถือ เป็นหลักหรือแนวทางในการปฏิบัติ (Internalize) 3.ยอมรับ และนำไปปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิตปกติของชีวิต (Commitment as way of life)

30 ๕. มุ่งผล สัมฤทธิ์ของงาน ๓. โปร่งใส ตรวจสอบได้ ค่านิยมสร้างสรรค์ ๔. ไม่เลือก ปฏิบัติ ๒. ซื่อสัตย์และ มีความรับผิดชอบ ๑. กล้ายืนหยัด ทำในสิ่งที่ถูกต้อง หลักคุณธรรม

31 การเสริมสร้างเครือข่ายราชการ ใสสะอาด

32 ประเด็นเนื้อหา: กิจกรรมการสร้างเครือข่าย ส่งเสริมราชการใสสะอาด ๑. สนับสนุนให้มีศูนย์ประสานราชการใสสะอาด ๒. จัดทำแผนกลยุทธ์ส่งเสริมหน่วยงานใสสะอาด ๓. ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เพื่อให้ความรู้ การพัฒนาจิตสำนึก

33 ๔. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม เฝ้าระวัง ตรวจสอบการทำงานภาครัฐ ๕. เสริมสร้างเครือข่ายส่งเสริมการสร้างความ ใสสะอาด ประเด็นเนื้อหา: กิจกรรมการสร้างเครือข่าย ส่งเสริมราชการใสสะอาด(ต่อ)

34 ๑. สนับสนุนให้มีศูนย์ประสานราชการใสสะอาด  มีศูนย์ประสานราชการใสสะอาด/หน่วยงาน ที่รับผิดชอบเรื่องนี้โดยตรง  ทบทวนองค์ประกอบของศูนย์ฯ ในแง่ความ คล่องตัว สามารถดำเนินงานได้ตามแผนฯ  มีเจ้าหน้าที่/ผู้รับผิดชอบหลักประจำศูนย์ฯ  จัดสรรทรัพยากรสนับสนุนการดำเนินการ ของศูนย์ฯ

35 ๒.จัดทำแผนกลยุทธ์ส่งเสริมหน่วยงานใสสะอาด  ทบทวนแผนฯ: ผลสำเร็จ ปัญหา สิ่งที่ควร ยกเลิก/ ปรับปรุง/พัฒนาความคุ้มค่า  จัดทำแผนปฏิบัติการฯ บนฐานการทบทวนแผนฯ การวิเคราะห์ข้อร้องเรียน และการสำรวจความ พึงพอใจ  พิจารณาความเชื่อมโยงและครอบคลุม –เชื่อมโยง กับวิสัยทัศน์ พันธกิจ –ครอบคลุม กิจกรรมต่อเจ้าหน้าที่และต่อประชาชน

36 จัดทำแผนกลยุทธ์ส่งเสริมหน่วยงานใสสะอาด : ภาคประชาชน  การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร  มาตรการคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสทุจริต  การสร้างเครือข่ายหน่วยงานใสสะอาด

37 การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ภาคประชาชน บอกกล่าว ตอบคำถาม การรับฟัง ให้คำปรึกษา เข้าถึงข้อมูลข่าวสาร บอกสิ่งที่กำลัง ทำและเหตุผล รู้ว่าถามใคร ถามที่ไหน ได้รับข่าวสารครบถ้วน ถูกต้อง รวดเร็ว มีช่องทางรับฟัง ความเห็นสองทาง เปิดโอกาสให้ลูกค้าและ ประชาชนมีส่วนร่วมกำหนด และปฏิบัติตามนโยบาย  มอบหมายผู้รับผิดชอบ  เปิดให้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้สะดวก โดย  จัดสถานที่ไว้โดยเฉพาะ  มีวิธีค้นหาที่ง่าย ไม่ซับซ้อน  เปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่สำคัญ/ที่สาธารณะควรรู้ ผ่านสื่อเป็นระยะ  มีช่องทางเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่สะดวก  ปรับปรุงเนื้อหาข้อมูลข่าวสารให้เป็นปัจจุบัน และครบถ้วน

38 จัดทำแผนกลยุทธ์ส่งเสริมหน่วยงานใสสะอาด : ภาคเจ้าหน้าที่รัฐ ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ของรัฐ ลูกค้า Suppliers

39 จัดทำแผนกลยุทธ์ส่งเสริมหน่วยงานใสสะอาด : ภาคเจ้าหน้าที่รัฐ การจัดทำและปฏิบัติตามมาตรฐานทางคุณธรรม และจริยธรรม การส่งเสริมและสนับสนุนให้ปฏิบัติค่านิยมสร้างสรรค์ การพัฒนาและให้ความรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม การมีมาตรการเรื่องการรับของขวัญ สินน้ำใจ การยกย่องให้รางวัลผู้เป็นแบบอย่างเรื่องความซื่อสัตย์ สุจริต การมีช่องทางและระบบร้องเรียน

40 มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ประกาศและเผยแพร่ให้เจ้าหน้าที่ทุกคนรับทราบ ทำเป็นคำขวัญสั้นๆจดจำง่าย เผยแพร่ให้เห็น/ได้ยินบ่อย ประชาสัมพันธ์ให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ เช่น ประชาชน ผู้รับบริการ คู่สัญญา ผู้จะทำธุรกรรมด้วย ใช้เป็นเกณฑ์คัดเลือกข้าราชการใหม่ การพิจารณา ความดี ความชอบ การเลื่อนตำแหน่ง ใช้เป็นเกณฑ์คัดเลือกข้าราชการตัวอย่าง

41 ค่านิยมสร้างสรรค์ กล้ายืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบ โปร่งใส ตรวจสอบได้ ไม่เลือกปฏิบัติ มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน

42 มาตรการรับของขวัญ สินน้ำใจ: บุคคลภายนอก ไม่สามารถรับ กรณี: –แสวงหาผลประโยชน์จากตำแหน่งของเจ้าหน้าที่ผู้นั้น –เป็นบุคคล/องค์กรที่ทำ/กำลังทำธุรกิจร่วม/ถูกควบคุม โดยหน่วยงาน สามารถรับ กรณี: –รับเลี้ยงกาแฟ/อาหารกลางวัน ของขวัญ สินน้ำใจมูลค่าไม่ เกินกว่าที่กำหนด –รับจากบุคคล/องค์กรเดียวกันได้ไม่เกินกว่าที่กำหนดต่อปี ยกเว้น รับจากเพื่อนหรือบุคคลในครอบครัวที่ให้เนื่องจาก ความสัมพันธ์ส่วนตัว หรือไม่เกี่ยวกับตำแหน่งหน้าที่

43 มาตรการรับของขวัญ สินน้ำใจ: ระหว่างเจ้าหน้าที่ ผู้ใต้บังคับบัญชา –ไม่อาจให้ของขวัญผู้บังคับบัญชาและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ด้วยกันที่มีรายได้น้อยกว่ารายจ่าย –อาจให้ของขวัญผู้บังคับบัญชาในโอกาสประเพณีนิยม/ โอกาสพิเศษ มีมูลค่าไม่สูงกว่าที่กำหนด และไม่ใช่เงินสด –อาจออกเงินร่วมกับเพื่อนร่วมงานและผู้บังคับบัญชาเพื่อจัด งานเลี้ยงผู้บังคับบัญชาได้ ผู้บังคับบัญชา –ไม่อาจเรี่ยไร/ขอรับบริจาคของผู้ใต้บังคับบัญชาโดยไม่ สมัครใจ

44 การยกย่องให้รางวัลผู้เป็นแบบอย่าง จัดทำและประกาศหลักเกณฑ์การให้รางวัลโดย เชื่อมโยงกับมาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม จรรยาบรรณ กำหนดวิธีคัดเลือกที่ชัดเจน เป็นธรรมและเป็นที่ ยอมรับ ให้รางวัลในรูปเงินและมิใช่เงิน เชื่อมโยงการให้รางวัลกับการบริหารงานบุคคล

45 ช่องทางและระบบร้องเรียน จัดให้มีช่องทางร้องเรียน แจ้งเบาะแสทุจริตที่เข้าถึงง่าย ประชาสัมพันธ์ช่องทาง/วิธีการร้องเรียน แจ้งเบาะแส ทุจริตแก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ ทำแบบสอบถามหน่วยงานหรือผู้ติดต่อเกี่ยวกับปัจจัย โอกาสที่นำไปสู่การทุจริต มีระบบบันทึกการรับและตอบข้อร้องเรียน มีระบบเฝ้าระวังและรับข้อมูลทุจริตในวงราชการ ทำรายงานผลดำเนินการทางวินัยเป็นระยะ

46 ๓. ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เพื่อให้ความรู้ การพัฒนาจิตสำนึก ใช้มาตรฐานทางคุณธรรมฯ จรรยาบรรณ เป็นเกณฑ์ เลื่อนตำแหน่ง ให้ความดีความชอบ คัดเลือกข้าราชการใหม่ ให้ความรู้เจ้าหน้าที่เรื่องการป้องกันการทุจริต คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง ยกย่อง ให้รางวัลผู้เป็นแบบอย่างการมีมาตรฐานทางคุณธรรม และจริยธรรม จรรยาบรรณ มีมาตรการรับของขวัญ สินน้ำใจ

47 ๔. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมเฝ้าระวัง ตรวจสอบภาครัฐ จัดข้อมูลข่าวสารเหล่านี้ ให้ประชาชนขอดูได้ –ผลพิจารณาที่มีผลต่อเอกชนโดยตรง –นโยบาย/แนวดำเนินงานของหน่วยงาน –แผนงานโครงการ งบประมาณ –ขั้นตอนการให้บริการ จัดให้มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่ขอดูได้สะดวก มีช่องทางเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่เข้าถึงง่าย จัดช่องทางหลากหลายในการรับเรื่องร้องเรียน มีการจัดการต่อเรื่องร้องเรียน

48  ให้ความรู้และสร้างความตระหนัก (Awareness)  พยายามเปลี่ยนแปลงมุมมอง (Perception) และทัศนคติ  การมีทักษะและความสามารถในการต่อต้าน การทุจริต แนวคิดการสร้างเครือข่ายราชการ/สังคมใสสะอาด

49 1.ส่งเสริมให้ภาคประชาชนตรวจสอบตนเอง (Self-Examination)  สร้างความตระหนัก  สร้างความสนใจแก่ประชาชน  จัดหลักสูตรฝึกอบรม ๕. การสร้างเครือข่ายราชการ/สังคมใสสะอาด แนวทางการสร้างเครือข่าย 2. เสริมแรงสร้างความร่วมมือ (Cheerleading)  เผยแพร่ข่าวเชิงบวก  ใช้การเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป  สร้างความร่วมมือ

50 3. ส่งเสริมให้ประชาชนตรวจสอบการทำงานภาครัฐ  มีช่องทางร้องเรียน  รายงานสม่ำเสมอ  ใช้กระแสสังคม  ใช้อาสาสมัคร ๕. การสร้างเครือข่ายราชการ/สังคมใสสะอาด 4. สนับสนุนให้ประชาชนแจ้งเบาะแสการทุจริตและ กระตุ้นการเปลี่ยนแปลง  ผนึกพลังประชาชน  เผยแพร่กรณีของความสำเร็จที่ประจักษ์  แสดงความเป็นเอกภาพของประชาขน

51 ๕. เสริมสร้างเครือข่ายส่งเสริมการสร้างความใสสะอาด จัดเวทีรับฟังความคิดเห็นของประชาชน จัดกลไกเชื่อมโยงเครือข่ายภาคประชาชน แต่งตั้งกรรมการจากภาคประชาชนในกิจกรรมที่เสี่ยง ต่อการทุจริต สร้างเครือข่ายระหว่างภาครัฐและประชาชนและ เครือข่ายระหว่างจังหวัด

52 ขอขอบคุณ สำนักงาน ก.พ. www.ocsc.go.th


ดาวน์โหลด ppt การเสริมสร้างเครือข่าย ราชการใสสะอาด ฐานกฎหมาย/นโยบายในการส่งเสริมจริยธรรม มุมมองจากสังคมโลก มุมมองในสังคมไทย การเสริมสร้างครือข่ายราชการใสสะอาด.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google