งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คู่มือสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยทำงานด้านโรคไม่ติดต่อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คู่มือสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยทำงานด้านโรคไม่ติดต่อ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คู่มือสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยทำงานด้านโรคไม่ติดต่อ
นิตยา พันธุเวทย์ หัวหน้ากลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค 25 มีนาคม 2558 ณ โรงแรมทีเค พาเลซ แอนด์ คอนเวนชั่น จ.นนทบุรี

2 บูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ปีงบประมาณ 2558
ผลลัพธ์ : ลดป่วย ลดตาย จากโรค NCDs โรคจากการประกอบอาชีพ ลดบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน - พัฒนาคลินิก NCD คุณภาพในสถานบริการสาธารณสุข ทุกระดับ - ระบบสุขภาพอำเภอ - จัดระบบข้อมูลข่าวสาร - M&E - ตำบลจัดการสุขภาพ/ Healthy workplace - บังคับใช้กฎหมาย 1.Population Approach มาตรการสร้างเสริมสุขภาพและวิถีชีวิตในประชากร 2.Individual Approach มาตรการ พัฒนาคลินิกบริการและการจัดการโรค มาตรการสนับสนุน คู่มือบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCDคุณภาพ คู่มือบูรณาการเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยชุมชน สำหรับบุคลากรสาธารณสุข

3 เผยแพร่เวปไซด์ www.thaincd.com
มาตรการสนับสนุน คู่มือบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน คู่มือบูรณาการเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยชุมชน สำหรับบุคลากรสาธารณสุข คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ เผยแพร่เวปไซด์

4 คู่มือการจัดบริการสุขภาพ “กลุ่มวัยทำงาน” แบบบูรณาการ 2558
บทที่ 1 เกาะติดปัญหาสุขภาพ กลุ่มวัยทำงาน บทที่ 2 แนวคิดการพัฒนา สุขภาพกลุ่มวัยทำงาน บทที่ 3 การจัดบริการสุขภาพ กลุ่มวัยทำงาน บทที่ 4 การเฝ้าระวัง ติดตาม และประเมินผล ภาคผนวก : แบบประเมิน สถานะเขตสุขภาพ

5 บทที่ 1 เกาะติดปัญหาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สัดส่วนการเสียชีวิตของประชากรไทยวัยทำงานจำแนก ตาม อายุ เพศ และกลุ่มโรค ความสูญเสียปีสุขภาวะจากการตายก่อนวัยอันควรและความบกพร่องทางสุขภาพ (Disability-Adjusted Life Years : DALYs) ในประชากรวัยทำงาน ข้อมูลโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม สถานการณ์ปัญหาอุบัติเหตุทางถนน สถานการณ์ภาวะสุขภาพจิต

6 บทที่ 2 , 3 แนวคิดการพัฒนาและการจัดบริการสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
บูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ปีงบประมาณ 2558 1.การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ 2.สถานที่ทำงาน /สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข 3.การบังคับใช้กฎหมายสุรา-ยาสูบ 2. Individual Approach - ระบบสุขภาพอำเภอ -จัดระบบข้อมูลข่าวสาร - M&E 1. Population Approach 1.การบริการประเมินสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน (ประเมินสุขภาพพื้นฐาน : DM HT CA , ประเมินสุขภาพในกลุ่มอาชีพเฉพาะ: สารกำจัดศัตรูพืช/สารเคมี โรคกระดูกกล้ามเนื้อจาก การทำงาน) 2. คลินิก NCD คุณภาพ -การเชื่อมโยงคลินิกบริการต่างๆ - การประเมินปัจจัยเสี่ยงและการจัดบริการ : นน.เกิน อ้วน จิต บุหรี่ สุรา CVD ช่องปาก การบูรณาการการเฝ้าระวังและการดำเนินงานป้องกันการบริโภคยาสูบ อุบัติเหตุทางถนนในระดับอำเภอร่วมกับเครือข่ายในพื้นที่

7 กรอบการติดตามและประเมินผลการพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยทำงานในภาพรวมปี 2558
บทที่ 4 การเฝ้าระวัง ติดตาม และประเมินผล กรอบการติดตามและประเมินผลการพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยทำงานในภาพรวมปี 2558

8 ภาคผนวก : สถานะเขตสุขภาพ
อัตราตายด้วยโรคเบาหวาน (E10-E14) ต่อประชากร 100,000 คน ในปี พ.ศ จำแนกตามเขตบริการสุขภาพ 12 เขต กรุงเทพมหานคร และภาพรวมทั้งประเทศ อัตราป่วยด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ (I20 – I25) ต่อประชากร 100,000 คน ในปี พ.ศ จำแนกตามเขตบริการสุขภาพ 12 เขต กรุงเทพมหานคร และภาพรวมทั้งประเทศ

9 คู่มือบูรณาการเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยชุมชน สำหรับบุคลากรสาธารณสุข
บทที่ 1 ความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชุมชนและองค์กร บทที่ 2 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยชุมชนและองค์กร บทที่ 3 แบบอย่างความสำเร็จในการดำเนินงาน : ตำบลจัดการสุขภาพ สถานประกอบการ และองค์กร

10 บทที่ 1 ความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในชุมชนและองค์กร
ระดับต่างๆของปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ ความเชื่อมโยงของปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชน

11 บทที่ 1 ความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในชุมชนและองค์กร
หลักการพัฒนามาตรการในชุมชน มาตรการสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม คำแนะนำในการดำเนินงานเพื่อปรับพฤติกรรม บทบาทของชุมชน/องค์กรในการขับเคลื่อนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ขั้นตอนการดำเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพชุมชนโดยชุมชน/องค์กร 1. ตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนการดำเนินงาน 2. ประเมินและวิเคราะห์ชุมชน/องค์กร 3. พัฒนาแผนปฏิบัติการ 4. ดำเนินการตามแผนมาตรการ/กิจกรรม 5. ติดตามและประเมินผล

12 บทที่ 2 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยชุมชนและองค์กร
ตำบลจัดการสุขภาพ การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพดีโดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและองค์กร กลไกความเชื่อมโยงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ในแต่ละระดับ องค์ประกอบการจัดการให้เกิดตำบลสุขภาพดี ระดับของการพัฒนาตำบลสุขภาพดี บทบาทขององค์กรหลักที่สำคัญต่อการขับเคลื่อนการดำเนินงานตำบลจัดการ สุขภาพในพื้นที่ องค์กรไร้พุง เกณฑ์ขององค์กรไร้พุง VS ศูนย์การเรียนรู้องค์กรไร้พุง กลไกความเชื่อมโยงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในแต่ละระดับ กระบวนการดำเนินงานองค์กรไร้พุง

13 บทที่ 2 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยชุมชนและองค์กร
สถานที่ทำงาน สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข ขั้นตอนในการผลักดันโครงการสถานที่ทำงานสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัยกายใจเป็นสุข

14 คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลิกนิก NCD คุณภาพ
บทนำ ความสำคัญของการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพในคลินิก บทที่ 1 คลินิก NCD คุณภาพต่อการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม บทที่ 2 แนวคิดการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ บทที่ 3 การปรับพฤติกรรมการบริโภค และการออกกำลังกาย เชื่อมโยงกับ DPAC บทที่ 4 การปรับพฤติกรรมเพื่อลดการ บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

15 คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลิกนิก NCD คุณภาพ
บทที่ 5 การปรับพฤติกรรมเพื่อลด การบริโภคผลิตภัณฑ์ยาสูบ บทที่ 6 การปรับพฤติกรรม เพื่อลด ภาวะเครียดและซึมเศร้า บทที่ 7 แบบอย่างความสำเร็จใน การดำเนินการปรับ พฤติกรรมรายบุคคล ภาคผนวก ตัวอย่างขั้นตอนบริการเพื่อปรับพฤติกรรมสุขภาพกาจัดบริการรายบุคคลและรายกลุ่ม แบบประเมิน

16 ความสัมพันธ์การเปลี่ยนแปลง ตามรูปแบบ 4x4x4
ความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในคลินิก ความสัมพันธ์การเปลี่ยนแปลง ตามรูปแบบ 4x4x4

17 แนวคิดการพัฒนาคลินิก NCD คุณภาพ

18 การปรับระบบบริการและกระบวนการบริการในคลินิก NCD คุณภาพ

19 บทที่ 2 แนวคิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
บทที่ 2 แนวคิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ธรรมชาติของคนส่งผลต่อ พฤติกรรมสุขภาพ ธรรมชาติพฤติกรรมคน ธรรมชาติของแรงจูงใจ เทคนิคการควบคุมตัวเอง ข้อคิดเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพของคน ข้อคิดการให้คำปรึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตัวอย่างข้อคำถามในการประเมิน เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และขั้นตอนในการบริการ

20 แนวทางการปฏิบัติงานการให้บริการบำบัดผู้เสพยาสูบ
การปรับพฤติกรรม เพื่อลดการบริโภคผลิตภัณฑ์ยาสูบ การปรับพฤติกรรม เพื่อลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แนวทางการปฏิบัติงานการให้บริการบำบัดผู้เสพยาสูบ ขั้นตอนการดำเนินงานเพื่อลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เทคนิคการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ด้วย 5A การประเมินและให้บริการผู้มีปัญหาการดื่มแอลกอฮอล์ ขั้นตอน A1 - Ask A2 - Advise A3 - Assess   A4 - Assist   A5 – Arrange 

21 ขั้นตอนการดำเนินงานและ การให้คำปรึกษาในคลินิกไร้พุง(DPAC)
การปรับพฤติกรรม เพื่อลดภาวะเครียดและซึมเศร้า การปรับพฤติกรรมการบริโภคและการออกกำลังกาย เชื่อมโยงกับคลินิกไร้พุง (DPAC) ขั้นตอนการดำเนินงานและ การให้คำปรึกษาในคลินิกไร้พุง(DPAC) แนวประเมินปัญหาสุขภาพจิตในผู้มารับบริการ คลินิกโรคไม่ติดต่อ คำแนะนำหลังการประเมินความเครียด ซึมเศร้า

22 แบบอย่างความสำเร็จในการดำเนินการ ปรับพฤติกรรมรายบุคคล
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค “เมื่อพ่อครัวจอมเค็ม ลดเค็มและความดัน สำเร็จ” การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่

23 ขอบคุณค่ะ

24 การประเมินและให้บริการผู้มีปัญหาการดื่มแอลกอฮอล์
การปรับพฤติกรรม เพื่อลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การประเมินและให้บริการผู้มีปัญหาการดื่มแอลกอฮอล์

25 แนวทางการปฏิบัติงานการให้บริการบำบัดผู้เสพยาสูบ
การปรับพฤติกรรม เพื่อลดการบริโภคผลิตภัณฑ์ยาสูบ แนวทางการปฏิบัติงานการให้บริการบำบัดผู้เสพยาสูบ

26 การปรับพฤติกรรม เพื่อลดภาวะเครียดและซึมเศร้า
แนวประเมินปัญหาสุขภาพจิตในผู้มารับบริการ คลินิกโรคไม่ติดต่อ แบบที่ 1 และ 2

27 การจัดบริการสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การบังคับใช้กฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กระบวนการบังคับใช้กฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กระบวนการเฝ้าระวังการละเมิดกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

28 การจัดบริการสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ตำบลจัดการสุขภาพ

29 สถานที่ทำงาน/สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
การจัดบริการสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน การจัดบริการสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน สถานที่ทำงาน/สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข การประเมินสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ขั้นตอนการจัดบริการอาชีวอนามัยเชิงรับสำหรับหน่วยบริการปฐมภูมิ/หน่วยบริการสุขภาพ ขั้นตอนการจัดบริการอาชีวอนามัยเชิงรุกสำหรับหน่วยบริการปฐมภูมิ/หน่วยบริการสุขภาพ

30 การจัดบริการสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
คลินิก NCD คุณภาพ

31 ความเชื่อมโยงของคลินิกในการปรับระบบและกระบวนการบริการ
การจัดบริการสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ความเชื่อมโยงของคลินิกในการปรับระบบและกระบวนการบริการ

32 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยชุมชนและองค์กร
ตำบลจัดการสุขภาพ แนวคิดการบูรณาการขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพดี

33 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยชุมชนและองค์กร
ตำบลจัดการสุขภาพ ความเชื่อมโยงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในแต่ละระดับ

34 คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
ภาคผนวก ตัวอย่างขั้นตอนบริการเพื่อปรับพฤติกรรมสุขภาพ การจัดบริการรายบุคคลและรายกลุ่ม กรณีศึกษาโรคเบาหวาน 1. การประเมินและทบทวน (เชื่อมขั้นตอนนี้เข้ากับการแจ้งผลเลือด การให้สุขศึกษาหรือบริการอื่นๆ ที่มีอยู่แล้วในระบบบริการ) 2. การสร้างแรงจูงใจ 3. การจัดทำแผนการเปลี่ยนแปลง 4. การติดตามผล ประเมินผล *รายละเอียดตัวอย่างขั้นตอนบริการเพื่อปรับพฤติกรรมสุขภาพ การจัดบริการรายบุคคลและรายกลุ่ม กรณีศึกษาโรคเบาหวาน สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จาก คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ

35 ระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System : DHS)
การจัดบริการสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System : DHS)

36 การประเมินสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การเฝ้าระวัง ติดตาม และประเมินผล การประเมินสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน คลินิกไร้พุง (DPAC) โอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดใน 10 ปี ความเครียดและภาวะซึมเศร้า สุรา ยาสูบ ทันตสาธารณสุข กลุ่มอาชีพเฉพาะ *แบบประเมินมีตั้งแต่ A1-A11 ซึ่งสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จาก คู่มือจัดบริการสุขภาพ “กลุ่มวัยทำงาน” แบบบูรณาการ 2558 สื่อ องค์ความรู้ และเครื่องมือสนับสนุน *สื่อ องค์ความรู้ และเครื่องมือสนับสนุน คู่มือจัดบริการสุขภาพ “กลุ่มวัยทำงาน” แบบบูรณาการ 2558

37 1. ลดปัจจัยเสี่ยงในชุมชน 4. พัฒนาสถานบริการสุขภาพและการจัดการโรค
มาตรการหลัก 1. ลดปัจจัยเสี่ยงในชุมชน และสร้างเสริมสุขภาพ 2. การบังคับ ใช้กฎหมาย 3. เพิ่มคุณภาพการคัดกรอง และการจัดการโรค และความเสี่ยงของบุคคล/กลุ่มบุคคล 4. พัฒนาสถานบริการสุขภาพและการจัดการโรค M&E ฐานข้อมูล

38 การดูแลตนเองอย่างไร?...ให้พ้นภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (เบาหวาน ความดัน หัวใจ และอัมพาต)
โรคไม่ติดต่อเรื้อรังสามารถป้องกันได้ ร้อยละ 80 โดยการปรับวิถีชีวิต “ ใส่ใจ 3 อ. บอกลา 2 ส. ”


ดาวน์โหลด ppt คู่มือสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยทำงานด้านโรคไม่ติดต่อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google