งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภาพรวมโครงการ CHILDLIFE ศูนย์อนามัยที่ 5 นครราชสีมา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภาพรวมโครงการ CHILDLIFE ศูนย์อนามัยที่ 5 นครราชสีมา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภาพรวมโครงการ CHILDLIFE ศูนย์อนามัยที่ 5 นครราชสีมา
นพวรรณ หมื่นน้อย ศูนย์อนามัยที่ 5 นครราชสีมา กรมอนามัย

2 ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบการดูแลด้านสุขภาพ และปกป้องทางสังคมสำหรับเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ และเด็กที่อยู่ในภาวะเปราะบางในพื้นที่ที่มีสถานการณ์ปัญหาเอดส์สูง Comprehensive HIV/AIDS Care, Support and Social Protection for Affected and Vulnerable Children living in High Prevalence Area to Achieve Full Potential in Health and Development (CHILDLIFE) โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กโดยชุมชน

3 ความเป็นมา 1. กองทุนโลกเป็นองค์กรอิสระ สำนักงานตั้งอยู่ที่เมืองเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ 2. งบประมาณกองทุนโลกมาจากเงินบริจาคของนานาประเทศ รวมทั้งประเทศไทยด้วย โครงการด้านเอดส์ ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนโลกตั้งแต่ปี พ.ศ.2546 จนถึงปัจจุบัน จำนวน 3 รอบ ได้แก่ โครงการเอดส์รอบที่ 1 กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มเยาวชนที่มีอายุตั้งแต่ ปี โครงการเอดส์รอบที่ 8 กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มชายรักชาย กลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด กลุ่มพนักงานบริการ กลุ่มผู้ต้องขัง โครงการเอดส์รอบที่ 10 กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เด็กติดเชื้อ เด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ และเด็กที่อยู่ในภาวะเปราะบาง 3. กองทุนโลกได้จัดสรรงบประมาณให้ประเทศไทย ซึ่งมีสำนักงานบริหารโครงการกองทุนโลก โดย กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ทำหน้าที่เป็นหน่วยงานรับทุนหลักภาครัฐ (PR)

4 ความเป็นมา (ต่อ) การดำเนินงานโครงการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือด้านสุขภาพ และการ คุ้มครองทางสังคมแบบองค์รวมสำหรับเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ และ เด็กที่อยู่ในภาวะเปราะบางที่อยู่ในพื้นที่ที่มีความชุกของการติดเชื้อเอชไอวีสูง โดยกองทุนโลกสนับสนุนงบประมาณระยะเวลา 3 ปี (ปีงบประมาณ ) หน่วยงานรับทุนหลักภาครัฐ : กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โดยมีหน่วยงานรับทุนรองได้แก่ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (ด้านสุขภาพ) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ องค์การ PATH (ด้านวิชาการ) องค์การ PACT (ด้านการติดตามและประเมินผล)

5 ความเป็นมา (ต่อ) 2. หน่วยงานรับทุนหลักภาคเอกชน : มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ (ACCESS) โดยมีหน่วยงานรับทุนรองได้แก่ มูลนิธิรักษ์ไทย มูลนิธิเครือข่ายผู้ติดเชื้อเอชไอวี มูลนิธิศุภนิมิต มูลนิธิพัฒนาเครือข่ายเอดส์ มูลนิธิรักษ์เด็ก มูลนิธิเอดส์แห่งประเทศไทย องค์การแพลน PLAN สมาคมวางแผนครอบครัว PPAT

6 เป้าหมาย เป้าหมายของโครงการ
เด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ (CABA) และเด็กที่อยู่ในสภาวะเสี่ยงอื่นๆ ในชุมชนที่มีสถานการณ์เอดส์สูง ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการและคุณภาพชีวิต รวมทั้งได้รับการยอมรับในสังคมไม่ต่างจากเด็กทั่วไป กลุ่มเป้าหมายที่จะได้รับคุ้มครองดูแลภายใต้โครงการ ดังนี้ เด็ก หมายถึง ผู้ที่อายุแรกเกิดถึงต่ำกว่า 18 ปี เด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ (CABA) หมายถึง - เด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี (จากทุกความเสี่ยง-แรกเกิด-พฤติกรรมเสี่ยง) - เด็กที่ไม่ติดเชื้อเอชไอวี แต่มีพ่อแม่ ติดเชื้อเอชไอวี หรืออาศัยอยู่กับ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี หรือผู้มีโอกาสเสี่ยงสูงในการติดเชื้อ

7 เป้าหมาย (ต่อ) เด็กที่อยู่ในสภาวะเสี่ยงหรืออยู่ในภาวะยากลำบาก 5 เกณฑ์ ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่งคงของมนุษย์ ได้แก่ (1) ยากจน (2) เร่ร่อน (3) ไม่มีสถานะบุคคล (4) สิ้นสุดหรือยังอยู่ในกระบวนการยุติธรรม (5) เด็กในครอบครัวผู้ติดเชื้อ เด็กชาติพันธุ์ที่ไม่ได้สัญชาติไทยและเข้าไม่ถึงบริการพื้นฐาน ที่จำเป็นสำหรับเด็ก

8 เป้าหมาย (ต่อ) พื้นที่ดำเนินการ
29 จังหวัด : ประเมินจากตัวเลขคาดประมาณอนาคตความชุกแม่ตั้งครรภ์มีเชื้อ/ แม่มีเชื้อ/ เด็กติดเชื้อที่รับยา 1,860 ตำบล กรุงเทพมหานคร รายชื่อจังหวัดพื้นที่ดำเนินการ 6 จังหวัดภาคเหนือ : เชียงราย เชียงใหม่ ลำปาง พะเยา เพชรบูรณ นครสวรรค์ 8 จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : นครราชสีมา ขอนแก่น อุดรธานี อุบลราชธานี บุรีรัมย์ สุรินทร์ ชัยภูมิ ร้อยเอ็ด 9 จังหวัดภาคกลาง : ชลบุรี ระยอง นนทบุรี ราชบุรี นครปฐม สุพรรณบุรี จันทบุรี เพชรบุรี 5 จังหวัดภาคใต้ : สงขลา นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี ตรัง ชุมพร

9 เป้าหมาย (ต่อ) ระยะเวลาโครงการ 5 ปี (1 ตุลาคม 2554 – 30 กันยายน 2559)
การเข้าถึงพื้นที่โครงการ(%ของจำนวนตำบลใน 29 จังหวัด จากจำนวนตำบลทั้งหมด 3,720 ตำบล) ปีที่ 1 : 15% = ตำบล ปีที่ 2 : 30% = ,116 ตำบล ปีที่ 3 : 50% = ,860 ตำบล คาดว่าโครงการระยะ 5 ปี จะเข้าถึง 1,860 ตำบล(50%) เด็กสภาวะเสียง 132,060 คน (ในจำนวนนี้เป็นเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ 65,100 คน)

10 วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. การเสริมความเข้มแข็งและประสานการทำงานเชื่อมโยงสุขภาพ การมีส่วนร่วมของชุมชน การปกป้องทางสังคม เพื่อพัฒนาบริการให้มีคุณภาพโดยคำนึงถึงประเด็นความอ่อนไหวในเด็ก 2. การเข้าถึงการรักษาและบริการทางสังคมที่เท่าเทียมของเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์และเอชไอวี เด็กที่อยู่ในภาวะยากลำบากและเด็กอื่นที่ไม่ได้รับการดูแลจากสังคม 3. เพื่อปรับปรุงและเพิ่มการยอมรับทางสังคมที่มีต่อเด็ก และผู้ได้รับผลกระทบจากเอดส์และเอชไอวี รวมทั้งคนที่ถูกรังเกียจหรือไม่ได้รับการยอมรับเนื่องจากสาเหตุอื่นๆ 4. ส่งเสริมศักยภาพระดับประเทศ จังหวัด อำเภอ ตำบล รวมทั้งชุมชนให้มีกลยุทธ์ด้านระบบข้อมูลเพื่อนำไปสู่การพัฒนาบริการให้กับเด็ก

11 ตัวชี้วัดหลักที่กรมอนามัยรับผิดชอบ
ตัวชี้วัดที่ Number of children received age-appropriate health service at health setting including orphanage and day care (จำนวนเด็กที่ได้รับบริการดูแลด้านสุขภาพในสถานบริการสุขภาพสถานสงเคราะห์เด็ก/สถานรับเลี้ยงเด็ก) ตัวชี้วัด Number of hospitals establishing case management approach (จำนวนโรงพยาบาลที่จัดระบบการดูแลเด็กเป็นรายบุคคล) ตัวชี้วัด Number of health care providers trained on specific skilled needed to provide age and gender specific services to children (จำนวนผู้ให้บริการสุขภาพได้รับการอบรมทักษะเฉพาะในการให้บริการ ที่เหมาะสมกับอายุและเพศภาวะของเด็ก) ตัวชี้วัด Number of care providers in orphanages and day care centers trained (จำนวนผู้ให้บริการในสถานสงเคราะห์เด็ก และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ได้รับการอบรม)

12 โครงสร้าง PR - DDC กรมอนามัย ศูนย์อนามัยและสมาคมอนามัย
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 29 จังหวัด โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

13 ภาพรวมโครงการ CHILDLIFE
Inputs หน่วยจัดการในพื้นที่ PR-DDC ๐-๒ ปี ๓-๕ ปี ๖-๑๑ ปี ๑๒-๑๘ ปี กรมอนามัย MCH Board - โครงการสายใยรัก -RH วัยรุ่น/ วัยเรียน -รร.ส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์เขตฯ/ สคร. -PCPC -รพศ./ รพจ. -รพช.(ARV ANC บริการด้านจิตเวช) - สสอ. -รพสต. -สถานสงเคราะห์เด็ก -ศูนย์เด็กเล็ก ** -CAG/ อบต. -โรงเรียน -…….. พัฒนาการ YFS HIV/CM กรมควบคุมโรค -YFS -ARV HIV Qual T. PCM -Psycho-Social -Social Protection PCPC -Case Finding -Capacity for CABA -De-Stigma PR-Access CAG 13 การบริการเด็กในชุมชน

14 นิยาม เด็กในภาวะเปราะบาง (พม.)
พิการ กำพร้า ยากจน ต้องคดี/สิ้นสุดหรือยังอยู่ในกระบวนการยุติธรรม เร่ร่อน ชาติพันธุ์/ ไม่มีบัตร ถูกทารุณกรรม ติดเชื้อเอชไอวี (infected/ Affected) 14

15 ภาพการทำงานโครงการ CHILDLIFE ระหว่าง 3 ระบบ
กลุ่มเป้าหมาย สุขภาพ สังคม ชุมชน 15

16 สวัสดี นพวรรณ หมื่นน้อย ศูนย์อนามัยที่ 5 นครราชสีมา
177 หมู่ 6 ตำบลโคกกรวด อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา โทร: , ต่อ โทรสาร: มือถือ website :


ดาวน์โหลด ppt ภาพรวมโครงการ CHILDLIFE ศูนย์อนามัยที่ 5 นครราชสีมา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google