งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 5 ภาวะการเงิน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 5 ภาวะการเงิน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 5 ภาวะการเงิน

2 ภาวะการเงิน ภาวะการเงินแบ่งออกเป็น 3 ภาวะคือ 1. ภาวะเงินเฟ้อ (Inflation) 2. ภาวะเงินฝืด (Deflation) 3. ภาวะเงินตึง (Tight Money)

3 ภาวะเงินเฟ้อ (Inflation)
ภาวะเงินเฟ้อ หมายถึง ภาวะที่เงินมีอำนาจการซื้อลดลง ปริมาณเงิน เพิ่มขึ้น ราคาสินค้าและบริการสูงขึ้น

4 สาเหตุของภาวะเงินเฟ้อ
สาเหตุของภาวะเงินเฟ้อ 1. เงินเฟ้อที่เกิดจากอุปสงค์ 1.1 การเพิ่มขึ้นของปริมาณเงิน 1.2 การเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่าย 1.3 การเพิ่มขึ้นของค่าจ้างแรงงาน 1.4 การได้เปรียบของดุลการชำระเงิน

5 สาเหตุของภาวะเงินเฟ้อ
2. เงินเฟ้อที่เกิดจากอุปทาน 2.1 การเพิ่มขึ้นของต้นทุนการผลิต 2.2 การลดลงของปริมาณสินค้าและบริการ 2.3 การเพิ่มกำไรของผู้ประกอบการ 3. เงินเฟ้อที่เกิดจากอุปสงค์และอุปทานรวมกัน

6 ผลของเงินเฟ้อ ผลกระทบของภาวะเงินเฟ้อ คือ
รายได้ที่แท้จริงหรืออำนาจซื้อเปลี่ยนแปลงไป การออมลดลง ผลกระทบต่อดุลการค้าและดุลการชำระเงิน ผลกระทบต่อการให้เครดิตทางการค้า ผลกระทบต่อฐานะการเงินของรัฐบาล

7 ผลของเงินเฟ้อ ผลกระทบ - ผู้เสียเปรียบคือ เจ้าหนี้ และผู้มีรายได้แน่นอน - ผู้ได้เปรียบคือ ลูกหนี้ และนักธุรกิจ วิธีแก้ปัญหา - ขึ้นอัตราดอกเบี้ย และขายพันธบัตรรัฐบาล - ใช้นโยบายงบประมาณเกินดุล ด้วยการเพิ่มภาษีอากร

8 การวัดระดับเงินเฟ้อ เครื่องมือที่ใช้วัดระดับเงินเฟ้อ คือ ดัชนีราคา (Price Index) ดัชนีราคา (Price Index) หมายถึง ตัวเลขที่แสดงการ เปลี่ยนแปลงถั่วเฉลี่ยในราคาสินค้าที่นำมาพิจารณา วิธีหาดัชนีราคา 1. การหาดัชนีราคารวมอย่างง่าย 2. การหาดัชนีราคาถ่วงน้ำหนัก

9 ดัชนีราคาผู้บริโภค อาหารและเครื่องดื่ม เครื่องนุ่งห่ม
ดัชนีราคาผู้บริโภคแยกหมวดหมู่สินค้าและบริการออกเป็น 7 หมวดใหญ่ คือ อาหารและเครื่องดื่ม เครื่องนุ่งห่ม ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเคหะสถาน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการตรวจรักษา ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพาหนะ และบริการขนส่ง ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการบันเทิง การอ่าน และการศึกษา ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับยาสูบ และเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์

10 ภาวะเงินฝืด (Deflation)
ภาวะเงินฝืด คือ ภาวะที่มีเงินมีอำนาจซื้อเพิ่มขึ้น ปริมาณเงินลดลง ราคาสินค้าและบริการถูกลง แต่ไม่มีคนมาซื้อ

11 ผลกระทบของภาวะเงินฝืด
รายได้ที่แท้จริงหรืออำนาจซื้อเปลี่ยนแปลงไป มีผลกระทบต่อผู้ประกอบธุรกิจ ผลกระทบ - ผู้เสียเปรียบคือ ลูกหนี้ และนักธุรกิจ            - ผู้ได้เปรียบคือ เจ้าหนี้ และผู้มีรายได้แน่นอน

12 การแก้ไขภาวะเงินฝืด รัฐบาลใช้นโยบายการเงินและการคลัง เพื่อเพิ่มการใช้จ่ายในการลงทุนของรัฐบาลให้สูงขึ้น ลดการออมโดยพยายามลมอัตราดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารพาณิชย์ วิธีแก้ปัญหา - ลดอัตราดอกเบี้ย และซื้อพันธบัตรรัฐบาล                - ใช้นโยบายงบประมาณขาดดุล ด้วยการลดหนี้ และเพิ่มการใช้จ่ายของรัฐ

13 ภาวะเงินตึง (Tight Money)
ภาวะเงินตึง คือ ภาวะที่กระแสการเงินชะงักชะงัน มีความต้องการเงิน เพื่อลงทุนเพิ่มแต่ปริมาณเงินน้อย

14 สาเหตุภาวะเงินตึง สาเหตุของการเกิดภาวะเงินตึง การที่ภาวะเงินเฟ้อหรือปริมาณ เงินในระบบเศรษฐกิจมีมากเกินไป รัฐบาลจึงพยายามหามาตรการ ต่างๆ มาแก้ไขเพื่อลดปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจลง หรือเกิดจาการ ขยายการผลิต และการลงทุนในอัตราที่สูงเกินไป

15 ภาวะเงินตึงที่เกิดขึ้นในประเทศไทย
ปริมาณเงินฝากในสถาบันการเงินเพิ่มขึ้นในอัตราต่ำจนผิดปกติ การขยายตัวทางด้านการลงทุนในอุตสาหกรรมเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก การลดลงของการใช้จ่างของรัฐบาล นโยบายการพัฒนาตลาดหลักทรัพย์

16 การแก้ไขภาวะเงินตึงของประเทศไทย
ขยายวงเงินกู้ที่ธนาคารพาณิชย์กู้ยืมจากธนาคารแห่งประเทศไทย รัฐบาลลดอัตราเงินสดสำรองตามกฎหมายของธนาคารพาณิชย์ลง อนุญาตให้ธนาคารพาณิชย์นำพันธบัตรรัฐบาลที่มีอยู่มาไถ่ถอนคืน

17 คำถามท้ายบทที่ 5 ภาวะทางการเงินหมายถึงอะไร ภาวะเงินเฟ้อมีลักษณะอย่างไร
สาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะเงินเฟ้อคืออะไร อธิบายความแตกต่างระหว่างภาวะทางการเงินเป็นอย่างไร ดัชนีราคาผู้บริโภคมีความสำคัญอย่างไร ผลกระทบของภาวะเงินเฟ้อของไทยเป็นอย่างไร วิธีแก้ไขภาวะทางการเงินควรกระทำโดยวิธีใด


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 5 ภาวะการเงิน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google