งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

E-Pedagogy Case-based Learning ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "E-Pedagogy Case-based Learning ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 e-Pedagogy Case-based Learning ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ

2 Well-structured problem solving Ill-structured problem solving
การสอนเพื่อพัฒนาการคิดของผู้เรียน Well-structured problem solving Ill-structured problem solving OELE Open-ended Learning Environments (Land and Hanafin) CLE Constructivism Learning Environments (Jonassen)

3 Case-based Learning What students do ทำความเข้าใจกับสถานการณ์
วิเคราะห์ปัญหา เสนอทางแก้ปัญหา ตัดสินใจ สะท้อนคิดจากผลของทางเลือก

4 Case-based Learning What teachers do: เตรียมกรณีศึกษา
มุมมองที่หลากหลายต่อปัญหา ทางแก้ปัญหาที่หลากหลาย ทฤษฎี และตัวอย่างจริงที่เกี่ยวข้อง ข้อเสนอแนะต่อวิธีการแก้ปัญหา

5 ลักษณะของกรณีศึกษา Real world problem solving เชื่อมโยงกับความเป็นจริง
มีเทคนิค การเล่าเรื่อง มุมมองที่แตกต่าง ปัญหา ประเด็นขัดแย้ง

6 ขั้นตอนการสร้างกรณีศึกษา
วางแผน ระบุจุดมุ่งหมาย วิเคราะห์ผู้เรียน เลือกสารสนเทศที่จำเป็น ลำดับความคิด ลำดับเหตุการณ์ ฉาก ตัวละคร ประเด็น ปัญหา จุดหักเห ขัอขัดแย้ง ร่างและเรียบเรียง กำกับการเขียนด้วย การตรวจสอบกับจุดมุ่งหมาย พิจารณาข้อมูลประกอบเพิ่มเติม ทบทวนและปรับปรุง Lane (2007) ได้เสนอคำถามหลักไว้ 10 ข้อสำหรับให้ผู้สอน หรือผู้ประเมินกรณีศึกษาได้ตรวจสอบในขั้นการทบทวนดังนี้ 1) กรณีศึกษานี้ทำให้เกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังหรือไม่ 2) มีปัญหา หรือประเด็นที่อยู่ในกรณีศึกษาเพียงพอและเกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังหรือไม่ 3) กรณีศึกษามีความสมบูรณ์ ซับซ้อน และมีจุดรวมความสนใจที่พอเพียงหรือไม่ 4) กรณีศึกษามีการนำเสนอสถานการณ์ ปัญหา หรือประเด็นหรือไม่ 5) กรณีศึกษาที่นำเสนอมีความใกล้เคียงกับความเป็นจริงหรือไม่ 6) มีส่วนประกอบต่างๆ ของสไตล์การเล่าเรื่องนำเสนอไว้ในกรณีศึกษาหรือไม่ เช่น สไตล์การเล่าเรื่อง การพัฒนาของเหตุการณ์ที่เป็นปัญหา การสร้างพล็อตเรื่องที่แสดงให้เห็นมุมมองที่ต่างกัน เป็นต้น 7) เหตุการณ์และการกระทำในกรณีศึกษามีการลำดับอย่างสมควรตามเหตุผลหรือไม่ 8) เหตุการณ์ต่างๆ ที่ปรากฏในกรณีศึกษามีความเชื่อมต่อกับสัญญาณหรือจุดสังเกตของการเปลี่ยนผ่านที่เหมาะสมหรือไม่ 9) เนื้อหาในกรณีศึกษามีความถูกต้อง เกี่ยวข้องและเหมาะสมกับเนื้อหาหลักของการเรียนรู้ใช่หรือไม่ 10) หากมีแหล่งข้อมูลจากภายนอกเพิ่มเติมประกอบในกรณีศึกษา แหล่งข้อมูลภายนอกนั้นเหมาะสมหรือไม่

7 กระบวนการเรียนรู้ CBL
Case problems Multiple Perspectives Theories & Literature Fact Experts’ Solutions Comments on the Results ทำความเข้าใจกับสถานการณ์ วิเคราะห์ปัญหา เสนอทางแก้ปัญหา ตัดสินใจ สะท้อนคิดจากผลของทางเลือก Adapted from Choi & Lee (2009)

8 ข้อสังเกต ความพร้อมของผู้สอนออนไลน์ ขณะดำเนินกิจกรรมออนไลน์
Social Talk > Academic Talk ทำอย่างไรให้ผู้เรียนมีประสิทธิภาพในการอภิปรายผ่าน การสื่อสารด้วยภาษาเขียนของผู้เรียน Social Talk สร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนออนไลน์

9 ผู้สอนออนไลน์  ทำหน้าที่ผู้สอนด้วยการปรากฏตัวทางอินเทอร์เน็ต ระบบบริหารจัดการเรียนรู้ เครื่องมือสื่อสาร  ดูแล จัดการ และตรวจสอบความเคลื่อนไหว ของห้องเรียนเสมือน Monitoring e-Classroom

10 ผู้สอนออนไลน์: ระหว่างการเรียน
มีความพร้อมด้านเวลา การจัดการต่างๆ ดูแล ตรวจสอบการเข้าห้องเรียนของผู้เรียน แสดงบทบาทของผู้สอนในกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน ใช้ภาษาเขียนเพื่อการสื่อสารอย่างไตร่ตรอง และมีวิจารณญาณ ให้ข้อมูลป้อนกลับทาง การเรียน/ ให้ผู้เรียนรับทราบผลการเรียน

11 ผู้สอนออนไลน์: การจัดการ การสื่อสารกับผู้เรียน ระหว่างการเรียน
ความเข้าใจของผู้เรียน ที่มีต่อการเรียนในห้องเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ผู้สอนต้องทำอะไรบ้างเพื่อเป็นการสนับสนุนให้ผู้เรียนปรับตัวเกี่ยวกับ... การบริหารจัดการเวลา การกำกับตนเอง การสื่อสารผ่านคอมพิวเตอร์ VS การสื่อสารแบบผชิญหน้า

12 ผู้สอนออนไลน์: การจัดการ การสื่อสารกับผู้เรียน ระหว่างการเรียน
ความเข้าใจของผู้เรียน ที่มีต่อการเรียนในห้องเรียนอิเล็กทรอนิกส์ การชี้แจงให้เข้าใจถึงรูปแบบการเรียนที่ผู้สอนวางแผน และออกแบบไว้ เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจบทบาทของตนเอง และปรับตัวได้เร็วกับวิธีการเรียนแบบใหม่ บทบาทของผู้เรียน บทบาทของผู้สอน

13 ผู้สอนออนไลน์: การสื่อสารกับผู้เรียนระหว่างการเรียน
ทักษะการเขียน ปรากฏ ในการสื่อสารอย่างเป็นทางการ เช่น การส่งการบ้าน การทำรายงาน เพื่อการประเมินผล ทักษะการเขียนแบบไม่เป็นทางการ ด้วยการใช้ภาษาพูด เช่น กล่าวทักทาย การแสดงความคิดเห็น การโต้ตอบ การกล่าวหยอกล้อแสดงอารมณ์ขัน ผู้สอนและผู้เรียน: ทักษะการสื่อสาร ในห้องเรียน อิเล็กทรอนิสก์

14 ผู้สอนออนไลน์: การสื่อสารกับผู้เรียนระหว่างการเรียน
ภาษาพูดที่ปรากฏในงานเขียน แสดงความคิด อารมณ์ ความรู้สึก การรับรู้ของผู้อ่านแตกต่างกันตามประสบการณ์ การให้ความหมาย ความรู้สึก ผู้อ่านตีความแตกต่างกัน อาจให้ความหมายได้ว่า... สุภาพ หรือ ก้าวร้าว สุขุม หรือ ใจร้อน มุมมองด้านบวก หรือ ลบ ฯลฯ ผู้สอน และผู้เรียน: ทักษะการสื่อสาร ในห้องเรียน อิเล็กทรอนิสก์

15 Case-based Learning ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ 25 กันยายน 2553


ดาวน์โหลด ppt E-Pedagogy Case-based Learning ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google