งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถานการณ์อหิวาตกโรคจังหวัดขอนแก่น ก.ย. 2550

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถานการณ์อหิวาตกโรคจังหวัดขอนแก่น ก.ย. 2550"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถานการณ์อหิวาตกโรคจังหวัดขอนแก่น 17-11 ก.ย. 2550
ความเป็นมา เมื่อวันที่ กันยายน 2550 สำนักระบาดวิทยาได้รับรายงานสถานการณ์ผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อ Vibrio cholera Eltor Ogawa จากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น จำนวน 8 ราย และเพิ่มเป็นจำนวน 12 รายในวันที่ 28 กย และผลความไวต่อยา Norfloxacin เป็นแบบปานกลาง รายงานสรุปสถานการณ์ประจำวันตั้งแต่วันที่ กันยายน 2550 มีจำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 25 ราย ผู้ป่วยรายแรกเริ่มป่วยวันที่ 17 กันยายน 2550 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น, สำนักป้องกันและควบคุมโรคเขต6 และ SRRT ในพื้นที่ร่วมกันสอบสวนและควบคุมโรคตั้งแต่วันที่ 19 กันยายน 2550 สำนักระบาดวิทยาออกติดตามสถานการณ์ร่วมกับทีมในพื้นที่วันที่ 3-11 ตุลาคม 2550

2 จำนวนผู้ป่วยอหิวาตกโรค จังหวัดขอนแก่น จำแนกตามเดือน เทียบกับค่าเฉลี่ยของ 5 ปีย้อนหลัง
2

3 ผลการสอบสวน จำนวนผู้ติดเชื้อ 229 ราย
จำนวนผู้ติดเชื้อ 229 ราย ผู้ป่วย 165 ราย Passive case= 135 Active case= 30 คิดเป็นอัตราป่วย 9.33 คนต่อแสนประชากร พาหะ 64 ราย คิดเป็น % ของผู้ติดเชื้อ พบผู้ขายอาหาร เป็นผู้ป่วย 9ราย เป็นพาหะ 3 ราย คิดเป็นร้อยละ 5.24% (12/229) ผู้เสียชีวิต 1 ราย CFR = 0.44% (1/165)

4 จำนวนผู้ป่วย กันยายน ตุลาคม

5 อัตราป่วยด้วยอหิวาตกโรค ต่อแสนประชากร จังหวัดขอนแก่น จำแนกตามอำเภอ

6 จำนวนผู้ป่วยอหิวาตกโรค จังหวัดขอนแก่น จำแนกตามเพศและอายุ (n=62)

7 อัตราป่วยต่อแสนประชากรจำแนกรายตำบล อ.กระนวน จ.ขอนแก่น 17ก.ย.-11ต.ค.50
อัตราป่วยต่อแสนประชากรจำแนกรายตำบล อ.กระนวน จ.ขอนแก่น 17ก.ย.-11ต.ค.50 อัตราป่วยต่อแสนประชากร 261.8

8 ผลการสอบสวนผู้ป่วยอหิวาตกโรค อ.กระนวน
จำนวนผู้ติดเชื้อ 180 ราย ผู้ป่วย 127 ราย Passive case= 104 Active case= 23 คิดเป็นอัตราป่วย คนต่อแสนประชากร พาหะ 53 ราย คิดเป็น % ของผู้ติดเชื้อ พบผู้ขายอาหาร เป็นผู้ป่วย 1ราย เป็นพาหะ 6 ราย คิดเป็นร้อยละ % ในผู้ขายอาหารที่ตรวจRSC(218ราย) อัตราผลบวกของการทำRSCในผู้สัมผัสร่วมบ้านและผู้สัมผัสในชุมชนเท่ากับ 3.5% (ทำRSCในผู้สัมผัส 2,160 ราย) อัตราผลบวกของการทำRSCในผู้ที่มีอาการถ่ายเหลวที่มารับการรักษาที่รพ.เท่ากับ % (จาก RSC ราย) จำนวนผู้ติดเชื้อในเจ้าหน้าที่รพ. 3 ราย จากผู้ทำRSC 119 ราย (2.52%) ผู้เสียชีวิต 1 ราย CFR = % จากผู้ป่วยใน 66 ราย มีภาวะ hypovolemic shock % ARF 11.1 % sepsis 2.2%

9 จำนวนผู้ป่วย กันยายน ตุลาคม

10 ร้อยละของผู้ป่วยจำแนกตามชนิดยาที่ใช้รักษา
OPD(n=22) IPD(n=23) norflox Erythro/amoxy Norflox+ cef3 Ampi/ 90.9% (20) 9.1% (2) 43.5% (10) 52.2% (12) 4.2% (1) ร้อยละของผู้ป่วยที่ผลRSC positiveจำแนกตามระยะเวลา หลังได้รับยาปฏิชีวนะ(n=90) ผลRSC ระยะเวลาหลังได้รับยาปฏิชีวนะ(ชม.) 24 48 72 positive 25.8% (25) 15.6% (14) 0.04% (4)

11 เส้นทางการขนส่งสินค้าและผู้ป่วยรายแรกใน3 อำเภอ
ผู้ขายอาหารที่ติดเชื้อ วันสัมผัส สุราษฎร์ธานี ตลาดมหาชัย วันเริ่มป่วย อ.หนองเรือ 16 17 รถเร่ขายในพื้นที่ ____________________________________ หอยแครง อ.เมืองขอนแก่น ตลาดอ.จิระ ตลาดบางลำภู ตลาดรถไฟ ____________________________________ 21 24 อ.กระนวน ตลาดสืบสารคาม (หนองโก) ตลาด อื่นๆ ตลาดคลองถม (ทุกวันศุกร์) ขายก๋วยเตี๋ยวที่บ้าน ขายกับข้าว ตลาดคำขึ้ง

12 ระบบน้ำประปาชุมชน คลอรีน ประปาผิวดิน= 29 แห่ง ประปาบาดาล= 16 แห่ง
แหล่งน้ำดิบ ใส่สารส้ม คลอรีน คลอรีน บ่อน้ำใส

13 High sensitivity intermediate resistance 100 - Drug sensitivity 41.91
KH N=15 SCI N=31 SH N=3 tetra 100 bactrim norflox 41.91 51.06 oflox - erythro 60 40 ampi 80 20 genta 32.6 64.2 3.22 chloram

14 การกำหนดนโยบายระดับจังหวัด
โดยกำหนดมาตรการในเขตการระบาด ให้ผู้ป่วย Diarrhea ทุกราย ทำ RSC และให้ Norfloxacin ยกเว้น.ในคนที่ตั้งครรภ์ (ให้ Erythromycin) และดำเนินการควบคุมโรคดังนี้ RSC ผู้ประกอบอาหารสดทุกราย: อาหารทะเล ลาบ ก้อย เนื้อ เขียงเนื้อ ยำ กุ้งฝอย ส้มตำปลาร้า ปูดอง ติดตามผล RSC ของข้อ 1 ถ้า positive จึงจ่ายยา ผู้สัมผัส ผู้ป่วย ครัวเรือน ทานอาหารร่วมกัน RSC และจ่ายยา โดยไม่ต้องรอผล (จนครบ 3 วัน) กรณีนี้ใช้ระยะเวลา 10 วันหลังสัมผัส ผู้สัมผัสอาหารเสี่ยง (ไม่ใช่ กลุ่ม 3) ภายใน 5 วัน ให้ RSC และจ่ายยา กรณี 4 แต่มากกว่า 5-10 วัน RSC แต่รอผล lab ถ้าพบ Positive จ่ายยา ทุกรายที่จ่ายยา ให้มีบันทึก กำกับ ติดตาม การกินยาจนครบ 3 วัน

15 สิ่งที่พื้นที่อำเภอกระนวนได้ดำเนินการ
กำหนดทีมผู้รับผิดชอบ บทบาทหน้าที่ งานที่ต้องดำเนินการ การดำเนินงานในเชิงรับ - ปรับหอผู้ป่วยหญิงเป็นหอผู้ป่วยติดเชื้อ ควบคุมการเข้าเยี่ยม มีน้ายาม่าเชื้อก่อนเข้าและออก มีป้ายเตือน และข้อปฏิบัติตนป้องกันการติดเชื้อ -ปรับปรุงระบบการสอบสวนโรคและฐานข้อมูล - ติดตามทำRSCผู้ติดเชื้อและติดตามการกินยา การดำเนินงานในเชิงรุก - ทำ active case finding สำรวจแหล่งน้ำประปาประสานควบคุมระดับคลอรีนตกค้าง - ให้ความรู้ผ่านทางสื่อ ได้แก่ ป้ายประกาศ รถกระจายเสียง สถานีวิทยุกระจายเสียง วิทยุชุมชน ประชุม War room ทุกวัน หัวหน้าทีมปฏิบัติการทุกทีม เวลา น. รายงานสถานการณ์ ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน ปัญหาและวางแผนการปฏิบัติงาน

16


ดาวน์โหลด ppt สถานการณ์อหิวาตกโรคจังหวัดขอนแก่น ก.ย. 2550

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google