งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว
การพัฒนาทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์เรื่องสั้น โดยใช้เทคนิค KWL- Plus ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

2 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
การอ่านมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิต เป็นเครื่องมือช่วยให้แสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้ตลอดชีวิต ในขณะเดียวกันการศึกษาของไทยมีการพัฒนาอย่างรวดเร็วเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการเรียน การศึกษา และการใช้ชีวิตในสังคม ดังนั้นทักษะการอ่านจึงเป็นทักษะสำคัญที่ควรมีการเร่งพัฒนาโดยเฉพาะการอ่านคิดวิเคราะห์เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาทักษะด้านอื่น ๆ ต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ การอ่านวิเคราะห์เป็นทักษะการอ่านในระดับที่สูงขึ้นกว่าการอ่านทั่วๆไป กล่าวคือ มิใช่เป็นเพียงการอ่านเพื่อความรู้และความเพลิดเพลินเท่านั้น แต่ยังต้องมีการวิเคราะห์สิ่งที่ผู้เขียนได้เขียนในด้านต่างๆด้วย

3 จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยเพื่ออาชีพ 1และ2 แก่นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 พบว่านักศึกษาขาดการคิดวิเคราะห์จากทักษะการอ่าน กล่าวคือนักศึกษาอ่านแล้วไม่สามารถคิดวิเคราะห์เรื่องที่อ่านได้ อาทิเช่น ข่าว บทความ เรื่องสั้น และเนื้อหาจากหนังสือเรียน จากสภาพปัญหาที่ผู้สอนพบจึงสนใจที่จะพัฒนาทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ โดยใช้การจัดกิจกรรมแบบเทคนิค KWL- Plus เพื่อให้นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์จากเรื่องที่อ่านและสามารถนำไปประยุกต์หรือปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

4 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมโดยใช้เทคนิค KWL- Plus เรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์เรื่องสั้น ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่           

5 สรุปผลการวิจัย ผลการจัดกิจกรรมโดยใช้เทคนิค KWL- Plus เรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์เรื่องสั้น ระหว่างเรียน ก่อนเรียน (20) เรื่องสั้นที่ 1 (10) เรื่องสั้นที่ 2 (10) เรื่องสั้นที่ 3 (10) เรื่องสั้นที่ 4 (10) เรื่องสั้นที่ 5 (10) รวม (50) หลังเรียน (20) X 11.15 7.57 8 8.27 8.45 8.63 40.93 16.21 S.D. 1.39 0.56 0.35 0.57 0.50 0.48 1.29 0.78 ร้อยละ 55.75 75.75 80 82.72 84.54 86.36 81.87 81.06

6 สรุปผลการวิจัย จากตาราง พบว่า คะแนนจากการทำแบบทดสอบระหว่างเรียนของนักศึกษาจากการจัดกิจกรรมการการพัฒนาทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์เรื่องสั้น โดยใช้เทคนิค KWL- Plus มีค่าเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ แสดงว่าค่าประสิทธิภาพด้านกระบวนการ (E1) เท่ากับ และคะแนนจากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียน (E2) มีค่าเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 81.06

7 สรุปผลการวิจัย แสดงประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมโดยใช้เทคนิค KWL- Plus เรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์เรื่องสั้น ประสิทธิภาพ คะแนน คะแนนเต็ม X S.D. ร้อยละ ประสิทธิภาพด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (E1) 50 40.93 1.29 81.87 ประสิทธิภาพด้านผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (E2) 20 16.21 0.78 81.06 ประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (E1/ E2) เท่ากับ /81.06

8 สรุปผลการวิจัย จากตาราง 2 พบว่า ประสิทธิภาพด้านการจัดกิจกรรมการพัฒนาทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์เรื่องสั้น โดยใช้เทคนิค KWL- Plus (E1) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ คิดเป็นร้อยละ และประสิทธิภาพด้านผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (E2) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ คิดเป็นร้อยละ ดังนั้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการพัฒนาทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์เรื่องสั้น โดยใช้เทคนิค KWL- Plus สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 มีประสิทธิภาพ (E1/ E2) เท่ากับ 81.87/ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้


ดาวน์โหลด ppt นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google