งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
ตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม กรมการพัฒนาชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555

2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวงและนโยบายสำคัญ/พิเศษของรัฐบาล (น้ำหนัก : ร้อยละ 20) ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 1.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง (น้ำหนัก : ร้อยละ 15) ระดับความสำเร็จของการพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงระดับหมู่บ้าน ระดับความสำเร็จของการสนับสนุน/ส่งเสริมการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม - มติที่ประชุมเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2555 ณ กระทรวงมหาดไทย ที่ประชุมเห็นชอบให้กรมการพัฒนาชุมชนรับผิดชอบตัวชี้วัด โดยมีกรมการปกครอง และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เป็นหน่วยงานสนับสนุน และให้ สนผ.สป. และ สบจ.สป. เป็นหน่วยงานประสานให้เกิดการบูรณาการร่วมกัน

3 ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงระดับหมู่บ้าน น้ำหนัก : ร้อยละ 5 ระดับ 1 หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ 1,755 หมู่บ้าน ระดับ 2 หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ 2,633 หมู่บ้าน ระดับ 3 มีการประเมินความสุขมวลรวม (Gross Village Happiness : GVH) ครั้งที่ 1 (2,633 หมู่บ้าน) ระดับ 4 มีการประเมินความสุขมวลรวมครั้งที่ 2 และความสุขมวลรวมของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบเพิ่มขึ้นร้อยละ 40 (1,054 หมู่บ้าน) ระดับ 5 ความสุขมวลรวมของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบเพิ่มขึ้น ร้อยละ 50 (1,317 หมู่บ้าน)

4 ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของการสนับสนุน/ส่งเสริมการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม น้ำหนัก : ร้อยละ 5 ระดับ 1 มีการสรุปสถานะแผนหมู่บ้าน/ชุมชนของทุกหมู่บ้านในภาพรวม พร้อมทั้งเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้กับประชาชนและภาคี ส่วนที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย 2 ช่องทาง (พช.) ระดับ 2 คณะกรรมการหมู่บ้าน/ชุมชน จัดเวทีประชาคมเพื่อทำการทบทวน ปรับปรุงและบูรณาการโดยใช้ข้อมูลแผนชุมชนเดิม ข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช.2 ค. เพื่อให้ได้แผนที่เป็นปัจจุบันครบ ทุกหมู่บ้าน (ปค.) ระดับ 3 ตัวแทนองค์กร/เครือข่ายภาคประชาชนที่ได้รับการคัดเลือกจากเวทีประชาคมของแต่ละหมู่บ้านมีส่วนร่วม โดยร่วมดำเนินโครงการ/กิจกรรมในแผนพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนที่ไม่ใช้งบประมาณอย่างน้อย 2 โครงการ และมีส่วนร่วมในการดำเนินการติดตามความก้าวหน้าของโครงการ/กิจกรรม นั้น (พช.) ระดับ 4 มีการจัดเวทีประชาคมระดับตำบล เพื่อพิจารณาโครงการ/กิจกรรม อย่างน้อยหมู่บ้านละ 1 โครงการ/กิจกรรมและนำเข้าบรรจุในแผน พัฒนาท้องถิ่นหรือแผนของหน่วยงานอื่นๆ (สถ.) พช. ร่วมเป็นวิทยากรกระบวนการ ระดับ 5 มีโครงการ/กิจกรรมในแผนพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนของหมู่บ้านในระดับ 4 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณหรือร่วมดำเนินการจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือหน่วยงานอื่นๆ ในแต่ละปี อย่างน้อยร้อยละ 20 ของโครงการ/กิจกรรม (สถ.)

5 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 3. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10 ) 3.1 จำนวนของครัวเรือนยากจนที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. (เป็นตัวชี้วัดร่วมระหว่าง พช.+สถ. โดย พช.เป็นเจ้าภาพ) 0.70x (จำนวน คร.ยากจนที่เหลือ45,482 คร.) 0.65x (จำนวน คร.ยากจนที่เหลือ42,233 คร.) 0.60x (จำนวน คร.ยากจนที่เหลือ38,984 คร.) 0.55x (จำนวน คร.ยากจนที่เหลือ35,736 คร.) 0.50x (จำนวน คร.ยากจนที่เหลือ32,487 คร.) 3.2 ร้อยละของเทศบาลและ อบต.ต้นแบบที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด (เป็นตัวชี้วัดร่วมระหว่าง สถ.+พช. โดย สถ. เป็นเจ้าภาพ) 60 (527 แห่ง) 65 (571 แห่ง) 70 (615 แห่ง) 75 (659 แห่ง) 80 (702 แห่ง)

6 จำนวนของครัวเรือนยากจนที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ.ปี 2554
ตัวชี้วัดที่ จำนวนของครัวเรือนยากจนที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ.ปี น้ำหนัก : ร้อยละ 5 ตัวชี้วัด หน่วยวัด เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 จำนวนของครัวเรือนยากจนที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ.ปี 2554 จำนวน 0.70x (จำนวน คร.ยากจนที่เหลือ45,482 คร.) 0.65x (จำนวน คร.ยากจนที่เหลือ42,233 คร.) 0.60x (จำนวน คร.ยากจนที่เหลือ38,984 คร.) 0.55x (จำนวน คร.ยากจนที่เหลือ35,736 ครัวเรือน) 0.50x (จำนวน คร.ยากจนที่เหลือ32,487 ครัวเรือน)

7 ตัวชี้วัดที่ 3. 2 ร้อยละของเทศบาลและ อบต
ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละของเทศบาลและ อบต.ต้นแบบที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด น้ำหนัก : ร้อยละ 5 ตัวชี้วัด หน่วยวัด เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ร้อยละของเทศบาลและ อบต.ต้นแบบที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 60 65 70 75 80

8 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจหลักของกรมหรือเทียบเท่า (น้ำหนัก : ร้อยละ 20) ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 4. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจหลัก (น้ำหนัก : ร้อยละ 20) 4.1 ระดับความสำเร็จของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตระดับ 3 มีการจัดสวัสดิการชุมชน 7 4.2 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน 4.3 ร้อยละของผู้นำ อช. ที่ดำเนินการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของครัวเรือนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ จปฐ. ปี 2554 ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด 6 60 65 70 75 80+A

9 ตัวชี้วัดที่ 4.1 ระดับความสำเร็จของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตระดับ มีการจัดสวัสดิการชุมชน น้ำหนัก : ร้อยละ 7 ระดับ 1 จังหวัดมีการจัดทำแผนการส่งเสริมสนับสนุนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตระดับ 3 ให้มีการจัดสวัสดิการให้แก่สมาชิกหรือชุมชน ระดับ 2 จังหวัดมีการทบทวนและสร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จำนวนร้อยละ 10 ของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ระดับ 3 (จำนวน 2,155 กลุ่ม) ระดับ 3 คณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตระดับ 3 ที่ผ่านการทบทวนและสร้างความเข้าใจ ดำเนินการจัดเวทีประชาคมเพื่อกำหนดแนวทางและแผนงานขับเคลื่อนกิจกรรมการจัดสวัสดิการชุมชน (จำนวน 2,155 กลุ่ม) ระดับ 4 ร้อยละ 65 ของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ที่ผ่านการจัดเวทีประชาคมกำหนดแนวทางและแผนงานขับเคลื่อนกิจกรรมสวัสดิการชุมชน (1,401 กลุ่ม) สามารถจัดกิจกรรมสวัสดิการได้อย่างน้อย 2 กิจกรรม ระดับ 5 ร้อยละ 70 ของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่ผ่านการจัดเวทีประชาคมกำหนดแนวทางและแผนงานขับเคลื่อนกิจกรรมสวัสดิการชุมชน (1,509 กลุ่ม) สามารถจัดกิจกรรมสวัสดิการได้อย่างน้อย 2 กิจกรรม

10 ตัวชี้วัดที่ 4.2 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน น้ำหนัก : ร้อยละ 7
ระดับ 1 กำหนดกลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายที่มีความต้องการด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนของแต่ละจังหวัด (ร้อยละ 25 ของกลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่ลงทะเบียนฯ หรือ 4,427 กลุ่ม) ระดับ 2 กลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายมีแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม (4,427 กลุ่ม) ระดับ 3 ผลิตภัณฑ์จากกลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายผ่านการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ จาก KBO จังหวัด ได้ร้อยละ 60 ในภาพรวม (2,656 กลุ่ม) ระดับ 4 ผลิตภัณฑ์จากกลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายผ่านการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ จาก KBO จังหวัด ได้ร้อยละ 62.5 ในภาพรวม (2,767 กลุ่ม) ระดับ 5 มูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากกลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายรวมทั้งหมดเพิ่มขึ้น มากกว่าค่าเฉลี่ยการเพิ่มขึ้นของมูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทั้งประเทศ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5

11 ตัวชี้วัดที่ 4. 3 ร้อยละของผู้นำ อช
ตัวชี้วัดที่ 4.3 ร้อยละของผู้นำ อช. ที่ดำเนินการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของครัวเรือนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ จปฐ. ปี 2554 ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด น้ำหนัก : ร้อยละ 6 ตัวชี้วัด หน่วยวัด เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ร้อยละของผู้นำ อช. มีทะเบียนครัวเรือนเป้าหมาย มีแผนปฏิบัติการในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตครัวเรือนเป้าหมายและมีการออกไปเยี่ยมเยียนครัวเรือนเป้าหมาย จำนวน 3 ครัวเรือน เฉลี่ย 5 ครั้ง/ ครัวเรือน / ปี ร้อยละ 60 65 70 75 80+A A = มีการสรุปบทเรียน/ผลการดำเนินงานในภาพรวมโดยกรมการพัฒนาชุมชน


ดาวน์โหลด ppt ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google