งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
โดย นพ.มานิต ธีระตันติกานนท์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในการประชุมผู้บริหาร เรื่อง การมอบนโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 วันที่ 27 ตุลาคม ณ สโมสรทหารบก ถนนวิภาวดี กรุงเทพมหานคร

2 โครงการคัดกรองสุขภาพทารกแรกเกิด
วัตถุประสงค์ ตรวจคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ในทารกแรกเกิด และประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องติดตามทารกในกลุ่มเสี่ยงมารับรักษา เป็นเครื่องมือในการเฝ้าระวังภาวะการขาดสารไอโอดีนของประเทศ การบูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการติดตามทารก ตลอดจนการนิเทศงานในพื้นที่ ฯลฯ สถานบริการทั้งภาครัฐและเอกชน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สถานีอนามัย สำนักหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

3 โครงการรับรองคุณภาพห้องปฏิบัติการ
การรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการตามมาตรฐานสากล การรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์ - ห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาล - ห้องปฏิบัติการทั่วไปที่ตรวจตัวอย่างจากร่างกาย การรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ - ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ ยา สมุนไพร เครื่องสำอาง อาหาร เครื่องดื่ม วัตถุมีพิษในครัวเรือน อุปกรณ์ทางการแพทย์ ทั้งภาครัฐและ เอกชน

4 โครงการรับรองคุณภาพห้องปฏิบัติการ (ต่อ)
การรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการตรวจสุขภาพคนหางานที่ จะไปทำงานต่างประเทศ พ.ร.บ. จัดหางานและคุ้มครองคนงาน พ.ศ ฉบับแก้ไข เพิ่มเติม พ.ศ. 2537 ระเบียบว่าด้วยการพิจารณาให้ความเห็นชอบเป็นสถานพยาบาล ตรวจสุขภาพคนหางานที่จะไปทำงานต่างประเทศ พ.ศ.2546 กำหนดว่าห้องปฏิบัติการของสถานพยาบาลที่ขอขึ้นทะเบียนเป็น สถานพยาบาลตรวจสุขภาพคนหางานฯ ต้องได้รับการรับรอง ความสามารถจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

5 โครงการรับรองคุณภาพห้องปฏิบัติการ (ต่อ)
โครงการรับรองคุณภาพห้องปฏิบัติการ (ต่อ) การรับรองขึ้นทะเบียนหน่วยงานที่ทดสอบ ศึกษาวิจัย พัฒนาความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ ที่ไม่ได้ทดลองในคนตามมาตรฐาน OECD GLP (เปิดให้บริการในปี พ.ศ.2550 ปัจจุบันมีหน่วยงานที่ทดสอบ ศึกษาวิจัย พัฒนาความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ยาที่ได้รับการตรวจสอบขึ้นทะเบียนจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 1 แห่ง ในประเทศอินเดีย)

6 โครงการรับรองคุณภาพห้องปฏิบัติการ (ต่อ)
โครงการรับรองคุณภาพห้องปฏิบัติการ (ต่อ) ศักยภาพของห้องปฏิบัติการกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ - เป็นองค์กรรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการทดสอบด้านการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศ (Accreditation Body) ตามมาตรฐานสากล ISO/IEC และ MR 001 - เป็นสมาชิกในระดับภูมิภาค APLAC (Asia Pacific Laboratory Accreditation Cooperation) Mutual Recognition Arrangement) และระดับนานาชาติ ILAC ( International Laboratory Accreditation Cooperation) Mutual Recognition Arrangement)

7 โครงการทดสอบความชำนาญห้องปฏิบัติการ(Proficiency Testing)
ดำเนินงานการทดสอบความชำนาญด้านการแพทย์ 6 สาขา - สาขาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก เคมีคลินิก - ภูมิคุ้มกันวิทยาศาสตร์ ธนาคารเลือด - จุลชีววิทยา โลหิตวิทยา

8 โครงการถ่ายทอดภารกิจการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานในพื้นที่โดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสถานีอนามัยสามารถใช้ชุดทดสอบในการเฝ้าระวังดูแลความปลอดภัยในการบริโภคอาหารของชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน การบูรณาการกับหน่วยงานอื่น ๆ หน่วยงานในกระทรวงสาธารณสุข - สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด, รพศ., รพท. - สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงมหาดไทย - กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น : อปท. (อบจ., เทศบาล, อบต.)

9 โครงการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์และสื่อสารเพื่อแจ้งเตือนภัยสุขภาพ
เผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศจากผลการวิเคราะห์วิจัย และ ประเมินความเสี่ยง เพื่อให้ประชาชนหน่วยงานมีข้อมูล ประกอบพิจารณาตัดสินใจในการดูแลสุขภาพอนามัย ของตนเอง ชุมชนและสังคม

10 โครงการคุณภาพสมุนไพรไทย
วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาและยกระดับวัตถุดิบสมุนไพร/ผลิตภัณฑ์ยาจากสมุนไพรที่บรรจุเข้าในบัญชียาหลักแห่งชาติและใช้ในโรงพยาบาลภูมิภาคให้มีคุณภาพเข้ามาตรฐานและมีความปลอดภัย และยังเป็นการส่งเสริมแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง การบูรณาการกับหน่วยงานอื่น ๆ โรงพยาบาลในส่วนภูมิภาคหรือสถานพยาบาลของรัฐที่ผลิตยาจากสมุนไพรที่บรรจุเข้าในบัญชียาหลักแห่งชาติ

11 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google