งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เกษตรที่ยั่งยืน วนเกษตร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เกษตรที่ยั่งยืน วนเกษตร."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เกษตรที่ยั่งยืน วนเกษตร

2 วนเกษตรคืออะไร คำว่า “วน” แปลว่า เกษตร ตามความหมายทางพุทธศาสนาหมายถึงดิน วนเกษตรจึงหมายถึงการใช้ดินทำประโยชน์ให้เกิดสภาพป่า พูดกันเป็นภาษาวิชาการว่าการจัดระบบนิเวศน์คือการสร้างความสมดุลให้กับธรรมชาติ

3 วนเกษตร (Agroforesty farming)
เป็น เกษตรกรรมที่นำเอาหลักการความยั่งยืนถาวรของระบบป่าธรรมชาติ มาเป็นแนวทางในการทำการเกษตร ให้ความสำคัญเป็นอย่างสูงกับการปลูกไม้ยืนต้น ไม้ผล และไม้ใช้สอยต่าง ๆ ให้เป็นองค์ประกอบหลักของไร่นา ผสมผสานกับการปลูกพืชชั้นล่างที่ไม่ต้องการแสงแดดมาก หรือได้อาศัยร่มเงา และความชื้นจากการที่มีพืชชั้นบนขึ้นปกคลุม รวมทั้งการจัดองค์ประกอบการผลิตทางการเกษตรให้มีความหลากหลายชนิดของพืชและ สัตว์ คำ ว่า “วนเกษตร” ถูกใช้มาก่อนหน้านี้ โดยนักวิชาการและหน่วยงานด้านป่าไม้ โดยให้ความหมายที่มีนัยของการทำป่าไม้ผสมผสานร่วมกับการปลูกพืชและเลี้ยง สัตว์ ทั้งนี้ วนเกษตรเป็นที่รู้จักกว้างขวางในสังคมไทย จากการบุกเบิกของผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม เมื่อปลายทศวรรษที่ 2520 อันเนื่องมาจากประสบการณ์ชีวิตที่ประสบกับปัญหาความล้มเหลวจากการทำ เกษตรกรรมเชิงเดี่ยวในเชิงพาณิชย์ครั้งแล้วครั้งเล่า ทำให้ท่านตัดสินใจขายที่ดินส่วนใหญ่ เพื่อนำไปชำระหนี้สิน แล้วใช้พื้นที่เล็ก ๆ ที่เหลืออยู่เพียงไม่กี่ไร่ แปรสภาพไร่มันสำปะหลังเป็นระบบวนเกษตร ปลูกไม้ยืนต้น และพืชสมุนไพรผสมผสานกัน และมีวิถีชีวิตที่พึ่งตนเองได้ ปรัชญาและ ประสบการณ์ชีวิตของเกษตรกรท่านนี้ เป็นส่วนหนึ่งที่หล่อหลอมให้เกิดแนวความคิดเกษตรกรรมทางเลือก เกษตรกรรมยั่งยืนในสังคมไทยต่อมา

4 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และภูมิคุ้มกัน
2.เพื่อเกื้อกูลการผลิตให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 3.เพื่อป้องกันและควบคุมสภาพแวดล้แม 4.เพื่อใช้ที่ดินเสื่อมโทรมและพื้นที่ขนาดเล็กให้ได้ผลผลิตสูงขึ้น 5.เพื่อความรื่นรมย์

5 รูปแบบของวนเกษตร มีอยู่ 3 ระบบ คือ 1
รูปแบบของวนเกษตร มีอยู่ 3 ระบบ คือ             1. ระบบปลูกป่า- นาไร่ ( Agrisylvicultural system) มีความแตกต่างเพราะการปลูกพืชกสิกรรมและการปลูกป่านั้น เป็นการทำการเกษตรในที่ดินอันเป็นของรัฐ และรัฐยังถือว่าไม้ที่ปลูกนั้นเป็นของรัฐ นอกจากพืชกสิกรรมเท่านั้นที่จะเป็นของราษฏร             2. ระบบปลูกป่า- หญ้าเลี้ยงสัตว์ ( Sylvopastoral system ) เป็นการผลิตปศุสัตว์มารวมกับการปลูกป่า กระทำทั้งในลักษณะของการปลูกป่าเพื่อใช้ส่วนต่างๆ ของต้นไม้เพื่อการเลี้ยงปศุสัตว์ เพื่อหวังประโยชน์จากไม้โดยตรง หรือการปลูกหญ้าเสริม หรือการเลี้ยงปศุสัตว์ในสวนป่า ปศุสัตว์ช่วยในการกำจัดหญ้า             3. ระบบเลี้ยงสัตว์-ปลูกป่า-นาไร่ ( Agrosylvopastoral system) ระบบที่มีตัวแปร หรือปัจจัยอยู่รวมกันถึงสามอย่างถือว่าเป็นการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างประณีต ปัจจัยทั้งสามอย่างที่ว่ามานี้หากสภาพการณ์ต่างๆเหมาะสมและสมบูรณ์แล้วก็ไม่ เป็นปัญหาต่อการทำงาน             ข้อเด่นของวนเกษตร มีอยู่ 2 ประการหลัก กล่าวคือ                     1) การอยู่ร่วมกันของพื้นที่ป่ากับการเกษตร                     2) การเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ

6

7

8 คณะผู้จัดทำ 1.นายอิทธิพล พรมมา เลขที่ 6 2.นางสาวกานต์นลิน มีศรีสุข เลขที่ 8 3.นางสาวชิษณุฎา ศรีสุข เลขที่11 4.นางสาวฐิติชญา ไหวพริบ เลขที่ 14 5.นางสาวเบญญาภา ธงสิบสอง เลขที่ 22 6.นางสาวพรรษกมล แสนบ่อ เลขที่ 27 7.นางสาววิภาวรรณ สร้อยสูงเนิน เลขที่ 32 8.นางสาวสิดาพร ประสุทธิ์ เลขที่ 34 9.นางสาวสิริรัตน์ อมฤทธิ์ เลขที่ นางสาวเก็จมณี กวางกระโดด เลขที่44 11.นางสาวมนัสนันท์ เชาว์ปัญญานนท์ เลขที่49 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5/12 เสนอ คุณครูจิรประภา ไตรกิตติคุณ โรงเรียนนารีรัตน์จังหวัดแพร่


ดาวน์โหลด ppt เกษตรที่ยั่งยืน วนเกษตร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google