งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ ของกลุ่มภารกิจ (DSCCW) ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ กรม คร. (SM) ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของหน่วยงาน ระดับบุคคล PMS ISMART

3 เมนูรายงานตัวชี้วัด ผู้ใช้งาน
1. ผู้ดูแลแผนและหรือผู้กำกับตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน : สร้างและรายงานตัวชี้วัดหน่วยงาน 2. ผู้กำกับตัวชี้วัดระดับกรม : download ข้อมูล/รายงาน สรุปและวิเคราะห์ในภาพรวมกรมฯ โดยไม่สามารถแก้ไขข้อมูลของหน่วยงานได้

4 บทบาทผู้กำกับตัวชี้วัด กรมควบคุมโรค ประจำปี 2554
1. ประสาน/จัดทำคำอธิบายตัวชี้วัด เป้าหมายและหลักเกณฑ์การวัดให้สอดคล้อง กับ Template กรมฯ 2. รวบรวมโครงการที่สนับสนุนให้ดำเนินงานตามตัวชี้วัดบรรลุเป้าหมาย 3. สื่อสารถ่ายทอดเป้าหมายตัวชี้วัด โครงการให้ผู้รับผิดชอบนำไปปฏิบัติ 4. จัดทำแผน ติดตาม กำกับ ให้เป็นไปตามแผนงาน 5. ติดตาม รวบรวม ประเมินรายงานความก้าวหน้าของโครงการ (จากระบบ Estimate/รายงานอื่น ๆ ) และจัดทำภาพรวมตามแบบรายงาน SAR หลังสิ้นไตร มาสในประเด็นต่าง ๆ ได้แก่ - ผลการดำเนินงานเทียบกับเกณฑ์ / เป้าหมาย - มาตรการที่ดำเนินการ - ปัจจัยสนับสนุนการดำเนินการ - ปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไขโดยเฉพาะกรณีที่ผลงานไม่เป็นไปตามเป้าหมาย (กรณีผลการดำเนินงานต่ำกว่าหรือมากกว่าแผน 10% ต้องมีคำชี้แจง) - รวบรวมหลักฐานอ้างอิง - บันทึกรายงานในระบบ Estimates

5 เอกสารและไฟล์ข้อมูลที่ต้องใช้ในการจัดทำรายงานในเมนูรายงานตัวชี้วัด
1. รายชื่อและรหัสตัวชี้วัดของกรมควบคุมโรค 2. รหัสหน่วยงาน ซึ่งเป็นตัวเลขที่ใช้ในระบบ Estimates เช่น กองแผนงาน รหัส 04 (ดูในภาคผนวก) 3. รายชื่อและรหัสตัวชี้วัดของหน่วยงาน ทั้งที่เป็นคำรับรอง การปฏิบัติราชการของหน่วยงาน และไม่ใช่คำรับรองฯ - ตัวชี้วัดที่ได้รับการถ่ายทอดจากกรมฯ ให้ใช้รหัสเดียวกัน กับกรมฯ 4. คำอธิบายตัวชี้วัด : เพื่อให้ทราบขั้นตอนการดำเนินงาน/ สูตรการคำนวณ/น้ำหนักคะแนน 5. ข้อมูลเพื่อเตรียมรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงาน เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพหรือขั้นตอน พร้อมไฟล์เอกสาร สำหรับแนบประกอบ

6 คำรับรอง การปฏิบัติราชการ
คำรับรอง การปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ (บางส่วน) คำรับรองกรมฯ ตามกลุ่มภารกิจ / SDA ตัวชี้วัดภารกิจหลักของหน่วยงาน ตัวชี้วัด ที่ไม่ใช่คำรับรอง ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ (บางส่วนที่เหลือ) ตัวชี้วัดบางตัวที่ต้องรายงานเพื่อสนับสนุนข้อมูลให้กับสำนักส่วนกลาง ตัวชี้วัดอื่น ๆ ของหน่วยงาน

7 องค์ประกอบ ของเมนูรายงานตัวชี้วัด
1. การสร้างตัวชี้วัด 2. ฟอร์มบันทึกรายงาน : แบบฟอร์มสำหรับรายงาน SAR * บันทึกตัวชี้วัดที่วัดผลเชิงคุณภาพ / ขั้นตอนการดำเนินงาน * บันทึกตัวชี้วัดที่วัดผลเชิงปริมาณ 3. รายการแสดงตัวชี้วัดที่รายงานแล้ว * รายการตัวชี้วัดที่วัดผลเชิงคุณภาพ / ขั้นตอนการ ดำเนินงาน * รายการตัวชี้วัดที่วัดผลเชิงปริมาณ 4. รายงานสรุปผล SAR Card 5. บันทึกสรุปผลการประเมินการปฏิบัติราชการตนเอง 6. รายการสรุปผลการประเมินการปฏิบัติราชการตนเอง

8

9 4.รายงานสรุปผล SAR Card 5.บันทึกสรุปผลการประเมินการปฏิบัติราชการตนเอง
1.การสร้างชื่อตัวชี้วัด 2.การรายงานผลการดำเนินงาน (บันทึกในรายงาน SAR ) 3.การแสดงชื่อตัวชี้วัดที่มีการบันทึกรายงานผลการดำเนินงานแล้ว 4.รายงานสรุปผล SAR Card 5.บันทึกสรุปผลการประเมินการปฏิบัติราชการตนเอง

10 ขั้นตอนการสร้างชื่อตัวชี้วัด
1.ระบุ/กำหนดรหัสตัวชี้วัดทุกตัวของหน่วยงาน ทั้งที่เป็นคำรับรอง และไม่ใช่คำรับรอง โดยระบุรหัส 2 ตัวแรกเป็นรหัสของหน่วยงาน 1.1ตัวชี้วัดที่ได้รับการถ่ายทอดจากกรมฯ ให้ใช้รหัสเดียวกันกับกรม เช่น คำรับรองกรมฯ / ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ เช่น22DSCCW113 , 04SM512_D , 19SM512_B , 06SM512_I , 11SM512_R 1.2ตัวชี้วัดอื่นของหน่วยงาน ให้กำหนดรหัสเป็น BuSC แล้วตามด้วยลำดับที่ของตัวชี้วัดหน่วยงาน เช่น 04BuSC12

11 การสร้างชื่อตัวชี้วัด (ต่อ)
2.สร้างรายการตัวชี้วัดของหน่วยงานในระบบฯ 2.1 คลิกเลือกหัวข้อสร้างตัวชี้วัด กรอกข้อมูลรหัสตัวชี้วัด และชื่อตัวชี้วัด (นำเครื่องหมายที่มีอยู่ในชื่อตัวชี้วัดออก หากชื่อยาวเกินไปปรับให้สั้นได้ใจความ) 2.2 คลิกเลือกปีงบประมาณ และมิติตัวชี้วัด (ประสิทธิผล / คุณภาพ / ประสิทธิภาพ / พัฒนาองค์กร) 2.3 คลิกเลือกประเภทตัวชี้วัด เป็น BuSC แล้วกดบันทึก ระบบจะแสดงรายการตัวชี้วัดของหน่วยงานที่สร้างในระบบ 2.4 สามารถตรวจสอบรายการตัวชี้วัด โดยกรอกข้อมูลที่ต้องการให้ระบบแสดง แล้วคลิกค้นหา

12 1. กรอกข้อมูลรหัสและชื่อตัวชี้วัดตามที่กำหนดไว้
2. เลือกปีงบประมาณ มิติตัวชี้วัด (ประสิทธิผล/คุณภาพ/ประสิทธิภาพ/พัฒนาองค์กร) 3. เลือกประเภทตัวชี้วัด เป็น BuSC แล้วกดบันทึก

13 3. ระบบแสดงรายการตัวชี้วัดของหน่วยงานที่บันทึกในระบบ

14 ขั้นตอนการรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด (การรายงานในแบบฟอร์ม SAR)
1. ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ เลือกหัวข้อ “บันทึกตัวชี้วัดที่วัดผลเชิงคุณภาพ / ขั้นตอนการดำเนินงาน” และกรอกข้อมูลในหัวข้อต่าง ๆ โดยอิงกับข้อมูลตาม Template และมีจุดที่ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษ ดังนี้ - การเลือกเดือนที่จะทำรายงานในระบบ ให้เลือกเดือนสุดท้ายของแต่ละไตรมาส คือ เดือนธันวาคม มีนาคม มิถุนายน และกันยายน - หัวข้อ “ระดับตัวชี้วัด” ให้เลือกที่ “หน่วยงาน (คำรับรอง)” หรือ “หน่วยงาน (ไม่ใช่คำรับรอง)” - กรอกข้อมูลผลการดำเนินงานของหน่วยงานและค่าคะแนนที่ได้ เพื่อให้ระบบคำนวณคะแนนอัตโนมัติ และควรแนบไฟล์เอกสารประกอบผลการดำเนินงานแต่ละขั้นตอน พร้อมทั้งตั้งชื่อไฟล์ให้ชัดเจน

15 กรอกข้อมูลผลดำเนินงาน
เลือก ข้อมูลจากระบบ “ระดับตัวชี้วัด” O กรมควบคุมโรค (คำรับรอง) O กรมควบคุมโรค (ไม่ใช่คำรับรอง) O หน่วยงาน (คำรับรอง) O หน่วยงาน (ไม่ใช่คำรับรอง) กรอกข้อมูลโดยอิงกับ Template กรอกข้อมูลผลดำเนินงาน

16 คำนวณคะแนนอัตโนมัติ

17 เลือกประเภท แล้วกด “ค้นหา”
กดแว่นขยาย เพื่อระบุชื่อ นามสกุล แล้วกด “ค้นหา”

18 การรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด (เชิงปริมาณ)
2. ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ เลือกหัวข้อ “บันทึกตัวชี้วัดที่วัดผลเชิงปริมาณ” และกรอกข้อมูลในหัวข้อต่าง ๆ โดยอิงกับข้อมูลตาม Template และมีจุดที่ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษ คือ มีการกำหนดรายละเอียดตัวแปรและค่าของตัวแปร รวมทั้งสูตรการคำนวณให้ถูกต้องและชัดเจน เพื่อที่ระบบจะได้คำนวณค่าคะแนนอัตโนมัติ

19 ระบุสูตรคำนวณ คำนวณค่าอัตโนมัติ
กำหนดรายละเอียดตัวแปรและค่า ระบุสูตรคำนวณ คำนวณค่าอัตโนมัติ ส่งออกเป็นรายงาน SAR

20 ตัวเลขต้องไม่มีจุดทศนิยม หรือเครื่องหมายอื่นๆ
ผลเกิดจาก การคำนวณ

21 การรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด (ต่อ)
บันทึกตัวชี้วัดที่วัดผลเชิงปริมาณ (ต่อ) ตัวแปร : ข้อมูลที่เกี่ยวข้องใช้ในการคำนวณค่าคะแนนเพื่อวัดผลงาน กำหนดชื่อตัวแปรเป็นตัวอักษร A, B, C, D, E ให้หน่วยงานระบุข้อมูลให้ครบถ้วน ตัวอย่าง : ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายรวม = งบประมาณที่เบิกจ่ายสะสม x 100 งบประมาณที่ได้รับจัดสรรทั้งหมด ตัวแปรตัวที่ 1 (A) คำอธิบาย คือ งบประมาณที่เบิกจ่ายจริงสะสม ค่าตัวแปร คือ 5,000,000 หน่วยนับ คือ บาท ตัวแปรตัวที่ 2 (B) คำอธิบาย คือ ตัวคูณคืน 100 ค่าตัวแปร คือ 100 หน่วยนับ คือ ไม่มี (ถ้าไม่มีให้เว้นว่างไว้ไม่ต้องระบุข้อความใด ๆ) ตัวแปรตัวที่ 3 (C) คำอธิบาย คือ งบประมาณที่ได้รับจัดสรรทั้งหมด ค่าตัวแปร คือ 15,000,000 หน่วยนับ คือ บาท สูตรที่ระบุในระบบ = A x B /C

22 แสดงชื่อตัวชี้วัดที่มีการบันทึกรายงานผลการดำเนินงานแล้ว
รายการตัวชี้วัดที่วัดผลเชิงคุณภาพ / ขั้นตอนการดำเนินงาน คลิกเลือกรายการตัวชี้วัดที่วัดผลเชิงคุณภาพ คลิกเลือกเงื่อนไขที่ต้องการให้ระบบแสดง คลิกตกลง

23 แสดงชื่อตัวชี้วัดที่มีการบันทึกรายงานผลการดำเนินงานแล้ว
รายการตัวชี้วัดที่วัดผลเชิงปริมาณ คลิกเลือกรายการตัวชี้วัดที่วัดผลเชิงปริมาณ คลิกเลือกเงื่อนไขที่ต้องการให้ระบบแสดง คลิกตกลง

24 รายงานสรุปผล SAR Card 1. คลิกเลือกเมนูรายงานตัวชี้วัด แล้วเลือกรายการสรุปผล SAR Card 2. คลิกเลือกเงื่อนไขที่ต้องการให้ระบบแสดง คลิกตกลง ตัวชี้วัดคำรับรองต้องเท่ากับ 100

25 บันทึกสรุปผลการประเมินการปฏิบัติราชการตนเอง
สำหรับจัดทำสรุปผลการประเมินการปฏิบัติราชการตนเองของหน่วยงาน ในภาพรวม และสามารถพิมพ์รายงานได้ โดยกดปุ่ม Export รายงาน ส่งออกรายงาน

26 การแก้ไข และการลบข้อมูลที่ทำการบันทึก
ผู้ใช้งานสามารถดู และแก้ไขข้อมูลของหน่วยงานตนเองได้ โดยเลือก หัวข้อที่ต้องการ  เลือกเงื่อนไขหากต้องการแก้ไข / หรือลบ ให้กดปุ่ม ”แก้ไข” หรือ ”ลบ” ปุ่มสำหรับแก้ไข ปุ่มสำหรับลบข้อมูล

27 เทคนิคเพิ่มเติมสำหรับการรายงานตัวชี้วัด
1. หน่วยงานทำความตกลงกันภายในว่าตัวชี้วัดแต่ละตัวมีผู้ใดเป็นผู้รับผิดชอบ ใครเป็นผู้สร้างตัวชี้วัดในระบบ และใครเป็นผู้รายงาน 2. ก่อนการดำเนินการใด ๆ ควรเตรียมไฟล์เอกสารประกอบการรายงานให้พร้อม เพื่อความสะดวก 3. การสร้างชื่อตัวชี้วัดของหน่วยงาน ควรสร้างเพียงครั้งเดียวให้ครบถ้วนตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ แล้วทำการรายงานผลการดำเนินงานตามระยะเวลาที่กำหนดในแต่ละไตรมาส (ไม่ควรมีการสร้างตัวชี้วัดเพิ่มเติมอีกในภายหลัง)

28 4. กรณีที่มีการรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดในไตรมาสที่ 1 ไปแล้วนั้น ขั้นตอนวิธีการที่จะรายงานผลการดำเนินงานในไตรมาสที่ 2 – 4 ให้หน่วยงานดำเนินการ ดังนี้ 4.1 เลือกหัวข้อ รายการตัวชี้วัดที่วัดผลเชิงคุณภาพ หรือ เชิงปริมาณ ที่หน่วยงานต้องการ 4.2 เลือกประเภทตัวชี้วัด เป็น BuSC / เลือกเดือน ที่เก็บผลงาน / เลือกระดับตัวชี้วัด เป็น หน่วยงาน (คำรับรอง) หรือ หน่วยงาน (ไม่ใช่คำรับรอง) แล้วคลิกตกลง 4.3 เมื่อระบบแสดงรายการตัวชี้วัดแล้ว ให้กดปุ่ม ”แก้ไข” โดยคลิกเลือกให้ตรงกับชื่อตัวชี้วัดที่ต้องการ ระบบจะแสดงหน้าจอของบันทึกรายงานผลการดำเนินงาน ให้ดำเนินการแก้ไขโดยเลือกเดือนที่ต้องการรายงานใหม่ และตรวจสอบรายละเอียดของหัวข้อต่าง ๆ พร้อมทั้งแก้ไขให้ถูกต้อง วิธีการที่จะบันทึก ให้ใส่เครื่องหมาย  ที่หัวข้อ “บันทึกเป็นรายการใหม่” แล้วจึงกดบันทึก ระบบจะบันทึกเป็นรายการใหม่ให้ หากต้องการแก้ไขเพิ่มเติมก็ให้ใช้วิธีการเดียวกัน * ข้อควรจำ : ก่อนทำการบันทึกขอให้ตรวจสอบให้ดีว่าเป็นรายการตัวชี้วัดที่ตนเองต้องรายงานถูกต้องหรือไม่ เช่น เป็นคำรับรอง หรือไม่ใช่คำรับรอง เนื่องจากที่ผ่านมา มีปัญหาการบันทึกทับซ้ำรายการเดิม ทำให้ข้อมูลที่รายงานไว้เดิมสูญหาย *

29 ขอบคุณกรั๊บ


ดาวน์โหลด ppt ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google