งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ปฏิรูปการศึกษาท้องถิ่น ปฏิรูปการผลิตและพัฒนาครูของท้องถิ่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ปฏิรูปการศึกษาท้องถิ่น ปฏิรูปการผลิตและพัฒนาครูของท้องถิ่น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ปฏิรูปการศึกษาท้องถิ่น ปฏิรูปการผลิตและพัฒนาครูของท้องถิ่น
ผศ.ดร.ประโยชน์ คุปต์กาญจนากุล ณัฐวุฒิ สุวรรณทิพย์

2 1.ระบบการศึกษาของท้องถิ่น(จังหวัด)
2.ระบบการผลิตครูของท้องถิ่น 3.ระบบการพัฒนาครูของท้องถิ่น (คุณภาพการเรียนรู้:LLEN)

3 บทเรียนระบบการศึกษาการผลิตและพัฒนาครูที่ผ่านมา
1.ปัญหาการศึกษาทุกวันนี้เกิดขึ้นจากเหตุผล 2 ประการ คือ 1. โลกเปลี่ยน และ 2. ระบบการศึกษาไทยไม่เปลี่ยน (สีลาภรณ์ บัวสาย) 2.ระบบการเรียนการสอนในระบบการศึกษาไทยขณะนี้ ต้องเรียกว่า “เก่งเป็นกระจุก แต่โง่กระจาย” 3.คนเก่งไม่เรียนครู กระบวนการคัดคนมาเรียนครูคับแคบเกินไป 4.การผลิตครูที่ “เกิน” ในเชิงปริมาณและ “ขาด” ในเชิงคุณภาพ 5. เน้นทฤษฏีมากกว่าปฏิบัติ ไม่เชื่อมโยงกับสภาพจริงในโรงเรียน 6. ปัญหาคุณภาพของอาจารย์ผู้เป็น “ครูของครู” 7. ระบบการผลิตครูยังไม่สามารถสร้างครูที่มีความรู้ลึกในวิชาการ เชี่ยวชาญในวิชาชีพ และมีจิตวิญญาณครูได้ ฯลฯ

4 1.ระบบการศึกษาของท้องถิ่น
สกว. ยุววิจัย, ครุวิจัย เรียนรู้คู่วิจัย วิทยาศาสตร์ท้องถิ่น ปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งโรงเรียน ฯลฯ สพฐ โรงเรียนวิถีพุทธ โรงเรียนสีขาว To be number one I SEE U สสส,ปตท ฯลฯ นโยบายสนับสนุนส่วนกลาง ส่งเสริม เครือข่ายวิชาการ/งบประมาณ นวัตกรรมการบริหารจัดการเครือข่าย เครือข่ายเครือญาติ นวัตกรรมการเรียนการสอน มหาวิทยาลัย ผู้ปกครอง โรงเรียน ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่ สนับสนุน สนับสนุน อบต./ ผู้นำท้องถิ่น ภาคธุรกิจ/เอกชน ภูมิปัญญา ภาครัฐ/หน่วยงาน ชุมชนท้องถิ่น ส่งเสริม ระบบเลื่อนขั้นเลื่อนตำแหน่งยกย่องเชิดชูเกียรติ

5 อ้างอิงจาก วรากรณ์ สามโกเศศ
• 3 ความจริงที่สำคัญยิ่งต่อความสำเร็จของระบบการศึกษา (McKinsey report, 2007) (1) คุณภาพของครู (“The quality of education system can not exceed the quality of its teachers.”) เพราะฉะนั้นต้องหาคนที่เหมาะสมมาเป็นครู (2) พัฒนาครูให้เป็นผู้สอนที่มีประสิทธิภาพ (“The quality of the outcomes of any school system is essentially the sum of the quality of the instruction that its teachers deliver.”) (3) สร้างระบบการศึกษาที่สามารถทำให้เกิดการสอนที่ดีที่สุด เท่าที่เป็นไปได้แก่เด็กทุกคน อ้างอิงจาก วรากรณ์ สามโกเศศ

6 กระบวนการเรียนการสอน สถาบันครุศึกษา/ศึกษาศาสตร์
2.ระบบการผลิตครู การผลิตครู การคัดเลือก กระบวนการเรียนการสอน หลักสูตร/ เครือข่ายโรงเรียน/ เครือข่ายหนุนเสริม ครูของครู บรรยากาศ สถาบันครุศึกษา/ศึกษาศาสตร์

7 3.ระบบการพัฒนาครู(คุณภาพการเรียนรู้ :LLEN)

8 สภาพปัญหาต่อการพัฒนาครู
1 กระบวนทัศน์แบบ top down รวมศูนย์อำนาจสั่งการแนวดิ่งนี้ยังติดเป็นบุคลิกภาพของครูไป top down กับศิษย์ 2 ครูยุคเก่าส่วนใหญ่มุ่งสอนหนังสือ มากกว่า สอนเด็กให้แสวงหาความรู้ 3 การอบรมเพื่อพัฒนาครูแบบเดิมๆมักเผชิญกับปัญหา “มักง่าย” และ “ฉาบฉวย” 4 ภาวะ “หมดไฟ” และ “ขึ้นสนิม” ของครูอีกทั้งระบบเลื่อนขั้นเลื่อนตำแหน่งไม่เอื้อต่อการพัฒนาครู 5 การพัฒนาครูขาดจุดเน้นที่ชัดเจนที่เป็นระบบและต่อเนื่อง 6 ครูต้องทำงานหลายหน้าที่มาก ไม่ได้สอนอย่างเดียว 7 ครูรุ่นใหม่มักถูกครอบงำโดยครูรุ่นเก่าที่จะทำให้ครูรุ่นใหม่เข้าสู่วิถีการทำงานแบบเดิม 8 ครูที่ประสบความสำเร็จในการสอน มักเป็นคนที่คิดนอกกรอบ และถูกมองเป็นพวกผิดปกติ สุดท้ายก็จะถูกระบบราชการดูดกลืนจนทำและคิดเหมือนคนอื่นๆ ฯลฯ

9 3.1 กระบวนทัศน์เดิมของการพัฒนาครู แสวงหาและเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์
การถ่ายทอดความรู้ Training เน้นถ่ายทอดความรู้นอกสถานที่ -พรากครูออกจากศิษย์ -วิทยากรรู้ ครูไม่รู้ -เหมาโหล ยกเข่ง -วัฒนธรรม Top down -มักง่ายและฉาบฉวย B A จัดที่โรงแรม Out Door จัดที่โรงเรียน School Based D C แสวงหาและเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ Learning

10 3.2กระบวนทัศน์ใหม่การพัฒนาครู
การถ่ายทอดความรู้ Training A B เน้นการเรียนรู้ในฐานพื้นที่ -พัฒนาจากฐานความสำเร็จของครู -หนุนเสริม(Enrichment) -แลกเปลี่ยนเรียนรู้(KM) -วงจรเรียนรู้(Team Learning) -เครือข่าย(Network) -เอื้ออำนาจ(Empowerment) จัดที่โรงแรม Out Door จัดที่โรงเรียน School Based D C แสวงหาและเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ Learning

11 3.3 จากครูเพื่อครู สู่ ครูเพื่อศิษย์
ครูเพื่อครู(กู-นาย) ครูเพื่อศิษย์ - สอน,ให้งาน,ตรวจการบ้าน ทดสอบ,ประเมินผล -ทำผลงานในกระดาษ -ทำงานเอาใจนาย -ให้ศิษย์ทำงานเพื่อครูเอง - ร่วมเรียนรู้ ร่วมปฏิบัติ - รักเมตตา - สร้างแรงบันดาลใจให้เด็ก - บูรณาการบทเรียนกับชีวิต - จิตอาสา ละเลยความรัก ความเข้าใจ ความรู้สึก จินตนาการของเด็ก เป้าหมายอยู่ที่ศิษย์ได้เรียนรู้ พัฒนาศักยภาพ อ้างอิง:สรุปแนวคิดจาก นพ.วิจารณ์ พานิช

12 “ปัญญา” ของคนต่างหากที่สร้าง “คุณภาพ”
“Wisdom, not Budget, Make Quality” เพียง “งบประมาณ” มิได้ทำให้เกิด “คุณภาพ” ได้ “ปัญญา” ของคนต่างหากที่สร้าง “คุณภาพ” Budget always limited But wisdom unlimited “งบประมาณ” มักมีจำกัดเสมอ แต่ที่ไม่จำกัด คือ “ปัญญา” ของเราทุกคน

13 Albert Einstein

14 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt ปฏิรูปการศึกษาท้องถิ่น ปฏิรูปการผลิตและพัฒนาครูของท้องถิ่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google