งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
โดย กลุ่มเครือข่ายพัฒนาสินค้าข่าเหลืองจังหวัดระนอง สำนักงานเกษตรจังหวัดระนอง ได้ร่วมกับตัวแทนเกษตรกรผู้ปลูกข่าเหลือง พ่อค้าคนกลาง ผู้ประกอบการ สถาบันการศึกษา และหน่วยงานส่งเสริมสนับสนุนการผลิตสินค้าข่าเหลือง จัดประชุมเพื่อพัฒนาเครือข่ายสินค้า (Cluster) ระดับจังหวัด ตามโครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ปี 2549 จำนวน 2 ครั้ง ซึ่งได้ร่วมกันกำหนดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ข่าเหลือง ซึ่งประกอบด้วย ประเด็นตามแผนภูมิ

2 Supply chain ข่าเหลืองระนอง
ผู้รับซื้อในจังหวัด ผู้ค้าปลีก ผู้บริโภค ผู้ผลิตพันธุ์จำหน่าย เกษตรกร ผู้รับซื้อต่างจังหวัด ผู้แปรรูป

3 Cluster Map ข่าเหลืองระนอง
หน่วยงานภาครัฐ สำนักงานเกษตรจังหวัด พัฒนาที่ดิน สำนักงานพาณิชย์ กรมวิชาการเกษตร สำนักงานสหกรณ์จังหวัด อบต. ธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ผู้รับซื้อต่างจังหวัด ผู้ค้าปลีก ผู้แปรรูป (เครื่องแกง สปา น้ำหมักชีวภาพ) ร้านอาหาร/ภัตตาคาร ธุรกิจสนับสนุน สถาบันการเงิน (ธ.ก.ส. กองทุนหมู่บ้าน) ธุรกิจหลัก เกษตรกร ผู้รับซื้อในจังหวัด สถาบันเฉพาะทาง วิทยาลัยเกษตรฯ ระนอง องค์กรสนับสนุน ยูแสด (สุขสำราญ)

4 Diamond Model Analysis ข่าเหลืองจังหวัดระนอง
ภาครัฐ + ยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัด + ยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหาความยากจน - ไม่มีระบบการรับรองมาตรฐานจาก มกอช. กลยุทธ์การแข่งขัน + ผลผลิตต่อไร่สูง + กำหนดช่วงเวลาในการเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ - การจัดการผลผลิตไม่สอดคล้องกับความ ต้องการของตลาด เงื่อนไขปัจจัยการผลิต เงื่อนไขด้านการตลาด + มีตลาดภายในรองรับผลผลิต + ผลผลิตมีราคาสูง - ตลาดต่างประเทศมีความต้องการ + สภาพแวดล้อมเหมาะสม + ต้นทุนการผลิตต่ำ - ปริมาณพันธุ์มีน้อย + ค่าแรงงานต่ำ (แรงงานต่างด้าว) - ปัจจัยการผลิตราคาสูง + ระบบคมนาคมสะดวก - มีการระบาดของศัตรูพืช + เกษตรกรมีความพร้อมรับความรู้ อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องและสนับสนุน - ไม่มีโรงงานแปรรูป

5 ยุทธศาสตร์การพัฒนาข่าเหลืองโดยเครือข่ายพัฒนาสินค้า ข่าเหลืองระนอง
ยุทธศาสตร์การพัฒนาข่าเหลืองโดยเครือข่ายพัฒนาสินค้า ข่าเหลืองระนอง วิสัยทัศน์การพัฒนาข่าเหลือง ปี 2549 – 2551 “เป็นศูนย์กลางการผลิตข่าเหลืองคุณภาพและพัฒนากลุ่มเพื่อเชื่อมโยงกับตลาดเครือข่าย” เป้าหมาย (1) พัฒนาแหล่งผลิตข่าเหลืองของจังหวัดระนองให้เป็นศูนย์กลางการผลิต ในภาคใต้ (2) เพิ่มปริมาณการผลิตและพัฒนาคุณภาพตามความต้องการของตลาด (3) พัฒนากลุ่มเครือข่ายสินค้าข่าเหลืองให้สามารถดำเนินธุรกิจได้ (4) ศึกษาวิจัยการเพิ่มมูลค่าสินค้าข่าเหลือง

6 3) ประเด็นยุทธศาสตร์และกลยุทธ์การพัฒนา
ผู้รับผิดชอบ 1. การเป็นศูนย์กลางการผลิตข่าเหลือง ในภาคใต้ 1.1 รณรงค์ประชาสัมพันธ์นำเสนอเอกลักษณ์ในตัว สินค้าข่าเหลือง 1.2 ส่งเสริมการใช้ Brandname หรือ ผลักดันเข้าสู่ ระบบสินค้า OTOP ระนอง กสก. / สสจ. / อต. / พณ. / พช. / กวก. / CEO 2. การเพิ่มปริมาณและพัฒนาคุณภาพ ผลผลิต 2.1 จัดตั้งแปลงเรียนรู้การผลิตในทุกอำเภอ กสก. / พด. / กวก. / ธกส. 3. การเพิ่มศักยภาพการดำเนินงานของ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาสินค้าเกษตร 3.1 จัดทำฐานข้อมูลการผลิตข่าเหลือง 3.2 พัฒนาบุคลากรกลุ่มเครือข่ายข่าเหลือง 3.3 พัฒนากลุ่มเครือข่ายสินค้าข่าเหลืองเป็น วิสาหกิจชุมชน กสก. / กวก. / พด. / อปท. / สก. / อต. 4. การเพิ่มมูลค่าสินค้าข่าเหลือง 4.1 ศึกษาวิจัยการเพิ่มมูลค่าสินค้าข่าเหลือง อปท. / ม.แม่โจ้ / วษ.รน.

7


ดาวน์โหลด ppt ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google