งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง 30201 การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง 30201 การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง 30201 การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6

2 ตัวแปรชุด 1 มิติ 2L. NgamprasitMahidol Wittayanusorn School ตัวแปรชุด (array) เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ใช้เก็บ ข้อมูลชนิดเดียวกัน เป็นกลุ่มหรือชุดที่เรียงติดต่อกัน เป็นแถว มีขอบเขตจำกัดและมีขนาดคงที่ นั่นคือ ข้อมูลทุกตัวที่อยู่ในตัวแปรชุดจะต้องเป็นข้อมูลชนิด เดียวกันเท่านั้น

3 ตัวแปรชุด 1 มิติ 3L. NgamprasitMahidol Wittayanusorn School สมาชิกของตัวแปรชุดหรือค่าข้อมูลที่เก็บในตัวแปร ชุดอาจเป็นชนิดข้อมูลพื้นฐาน (primitive data type) หรือตัวแปรอ้างอิง (reference data type) ก็ ได้ จำนวนสมาชิกของตัวแปรชุดมีขนาดแน่นอน ไม่ สามารถเปลี่ยนแปลงขนาดได้ สมาชิกของตัวแปรชุดแต่ละตัวจะมีลำดับประจำตัว อยู่

4 ตัวแปรชุด 1 มิติ 4L. NgamprasitMahidol Wittayanusorn School ในตัวแปรชุดจะประกอบด้วย  Index หรือตัวชี้ เป็นตัวที่ระบุตำแหน่งของตัว แปรชุดโดยเริ่มจาก 0  Element หรือ ค่าที่เก็บไว้ในตัวแปรชุดใน ตำแหน่งหนึ่งๆ

5 ตัวแปรชุด 1 มิติ 5L. NgamprasitMahidol Wittayanusorn School ชื่อของตัวแปรชุดคือ c มีความยาวหรือขนาด ของตัวแปร ซึ่งจะเก็บไว้ ในค่าคงที่ length ( เป็น final instance variable) โดยในที่นี้ c.length จะมีค่าเท่ากับ 12

6 การประกาศและสร้างตัวแปรชุด 1 มิติ 6L. NgamprasitMahidol Wittayanusorn School dataType[] arrayName; arrayName = new dataType[arraySize]; dataType[] arrayName = new dataType[arraySize]; หรือ int[] data; data = new int[5]; int[] data = new int[5];

7 การประกาศและสร้างตัวแปรชุด 1 มิติ 7L. NgamprasitMahidol Wittayanusorn School int[] data = new int[5]; data[0]data[1]data[2]data[3]data[4] data 00000

8 การสร้างและกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับ ตัวแปรชุดในคราวเดียว 8L. NgamprasitMahidol Wittayanusorn School int[] data = {2, 5, 0, -1}; char[] gen = {‘F’, ‘M’, ‘M’, ‘F’, ‘F’}; data[0]data[1]data[2]data[3] data 250 gen[0]gen[1]gen[2]gen[3]gen[4] gen‘F’‘M’ ‘F’

9 การอ้างถึงข้อมูลย่อยในตัวแปรชุด 9L. NgamprasitMahidol Wittayanusorn School ใช้เลขจำนวนเต็มทำหน้าที่เป็นดัชนี (index) เพื่อระบุถึง ข้อมูลนั้น ระบุชื่อตัวแปรชุด ตามด้วยตำแหน่งที่อยู่ของสมาชิก ดัชนีจะเริ่มตั้งแต่ [0] จนถึง [n-1] (n คือจำนวนของ สมาชิกในตัวแปรชุด ) data[0]data[1]data[2]data[3] data 250 int[] data = {2, 5, 0, -1}; System.out.println(data[0]); System.out.println(data[1]); 2525

10 การอ้างถึงข้อมูลย่อยในตัวแปรชุด 10L. NgamprasitMahidol Wittayanusorn School data[0]data[1]data[2]data[3] data 250 int[] data = {2, 5, 0, -1}; System.out.println(data[0]); data[1] = data[0]+1; System.out.println(data[1]); data[2] = data[0]+ data[1]; System.out.println(data[2]); 235235 data[0]data[1]data[2]data[3] data 235

11 การอ้างถึงข้อมูลย่อยในตัวแปรชุด 11L. NgamprasitMahidol Wittayanusorn School public class ArrayDemo1 { public static void main(String[] args) { int[] a = new int[5]; a[0] = 110; a[1] = 200; a[2] = 100; a[3] = 305; a[4] = 520; System.out.println("Element at index 0: " + a[0]); System.out.println("Element at index 1: " + a[1]); System.out.println("Element at index 2: " + a[2]); System.out.println("Element at index 3: " + a[3]); System.out.println("Element at index 4: " + a[4]); } 110 200 100 305 520 a[0]a[1]a[2]a[3]a[4] a110200100305520

12 การอ้างถึงข้อมูลย่อยในตัวแปรชุด 12L. NgamprasitMahidol Wittayanusorn School public class ArrayDemo1 { public static void main(String[] args) { int[] a = new int[5]; a[0] = 110; a[1] = 200; a[2] = 100; a[3] = 305; a[4] = 520; for(int i=0;i<5;i++) System.out.println("Element at index 0: " + a[i]); } 110 200 100 305 520 a[0]a[1]a[2]a[3]a[4] a110200100305520

13  ทำปฏิบัติการที่ 9 ตัวแปรชุด 1 มิติ  ศึกษาตัวอย่างที่ 3 – 8 และเติมคำตอบ ปฏิบัติการ Mahidol Wittayanusorn School13L. Ngamprasit

14 ตัวแปรชุด 2 มิติ 14L. NgamprasitMahidol Wittayanusorn School นำมาใช้ในการเก็บข้อมูลในรูปแบบตารางที่ ประกอบด้วยแถวและคอลัมน์

15 การประกาศและสร้างตัวแปรชุด 2 มิติ 15L. NgamprasitMahidol Wittayanusorn School dataType[][] arrayName; arrayName = new dataType[Row][Column]; dataType[] arrayName = new dataType[Row][Column]; หรือ int[][] data; data = new int[5][10]; int[][] data = new int[5][10];

16 ตัวอย่าง int[][] a = new int[3][4]; double[][] score = new double[2][24]; ตัวแปรชุด 2 มิติ

17 int[][] b = new int[4][3]; b [0][1][2] [0]b[0][0]b[0][1]b[0][2] [1]b[1][0]b[1][1]b[1][2] [2]b[2][0]b[2][1]b[2][2] [3]b[3][0]b3][1]b[3][2] ตัวแปรชุด 2 มิติ

18 int[][] b = new int[4][3]; b [0][1][2][3] b[0][0]b[0][1]b[0][2] b[1][0] ตัวแปรชุด 2 มิติ

19 int[][] b = new int[4][3]; b[0][1] = 10; b[1][1] = 20; b[3][0] = 30; b[2][2] = 40; b [0][1][2] [0]000 [1]000 [2]000 [3]000 10 20 30 40 ตัวแปรชุด 2 มิติ

20 การสร้างและกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับ ตัวแปรชุดในคราวเดียว 20L. NgamprasitMahidol Wittayanusorn School int[][] a = {{1, 2, 3}, {4, 5, 6}}; [0][1][2] a 123[0] 456[1] System.out.println(a[0][1]); System.out.println(a[1][2]); 2626

21 การสร้างและกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับ ตัวแปรชุดในคราวเดียว 21L. NgamprasitMahidol Wittayanusorn School int[][] a = {{1, 2, 3}, {4, 5}, {1, 2, 3, 4}}; [0][1][2][3] a 123 45 1234 System.out.println(a[1][1]); System.out.println(a[2][3]); 5454

22 การอ้างถึงข้อมูลย่อยในตัวแปรชุด 22L. NgamprasitMahidol Wittayanusorn School public class ArrayDemo9 { public static void main(String[] args) { int[][] a = { { 1, 2, 3 }, { 4, 5, 6 } }; for ( int r = 0; r < a.length; r++ ) { for ( int c = 0; c < a[r].length; c++) System.out.print(a[r][c]+ " "); System.out.println(); } 12 3 4 5 6 [0][1][2] a 123[0] 456[1] a.Length มีค่า เท่ากับ 2 a[r].Length มี ค่าเท่ากับ 3

23 สตริง 23L. NgamprasitMahidol Wittayanusorn School  String เป็นคลาสของข้อความ  java.lang.String การสร้าง string String s = "this is a string"; หรือ String s = new String("this is a string"); ออบเจ็กต์ที่ถูกสร้างขึ้นจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลง ค่าได้

24  ทำปฏิบัติการที่ 10 ตัวแปรชุด 2 มิติ และ สตริง  ศึกษาการทำงานของตัวอย่างที่ 9 และ 10 ในเอกสาร ปฏิบัติการ Mahidol Wittayanusorn School24L. Ngamprasit


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง 30201 การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google