งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
โรงเรียนวังไกลกังวล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ค 33101 คณิตศาสตร์พื้นฐาน

2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 2.3) ความน่าจะเป็น ของเหตุการณ์ (ต่อ)

3 ตัวอย่างที่ 2 หยิบลูกบอล 2 ลูก พร้อมกัน จากถุงใบหนึ่ง ซึ่งมีลูกบอลสีเขียว 2 ลูก และสีแดง 3 ลูก ด1 ข1 ด2 ด3 ข2

4 จงหาความน่าจะเป็น ของเหตุการณ์
ต่อไปนี้ เหตุการณ์ที่จะหยิบได้ลูกบอลสีเดียวกัน เหตุการณ์ที่จะหยิบได้ลูกบอลต่างสีกัน

5 ข1 แทนลูกบอลสีเขียวลูกที่ หนึ่ง ข2 แทนลูกบอลสีเขียวลูกที่ สอง
แนวคิด กำหนดให้ ข1 แทนลูกบอลสีเขียวลูกที่ หนึ่ง ข2 แทนลูกบอลสีเขียวลูกที่ สอง ด1 แทนลูกบอลสีแดงลูกที่ หนึ่ง ด2 แทนลูกบอลสีแดงลูกที่ สอง ด3 แทนลูกบอลสีแดงลูกที่ สาม

6 หาผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทดลองสุ่ม โดยใช้แผนภาพต้นไม้ ดังนี้
ข1ข2 ด1 ด2 ด3 ข2 ข1ด1 ข1 ข1ด2 ข1ด3

7 ข2ด1 ด1 ด2 ด3 ข2ด2 ข2 ข2ด3

8 ด1ด2 ด2 ด3 ด1 ด1ด3 ด2ด3 ด2

9 ผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทดลองสุ่ม คือ
ข1ข2 , ข1ด1 , ข1ด2 , ข1ด3 ข2ด1 , ข2ด2 , ข2ด3 ด1ด2 , ด1ด3 และ ด2ด3 จะได้ จำนวนผลลัพธ์ทั้งหมดที่เกิดขึ้น เป็น 10

10 1 = = 0.4 ข1ข2 , ด1ด2 , ด1ด3 และ ด2ด3 4 10 เหตุการณ์ที่จะหยิบได้ลูกบอล
สีเดียวกันมีผลลัพธ์ คือ ข1ข2 , ด1ด2 , ด1ด3 และ ด2ด3 จะได้ จำนวนผลลัพธ์ของเหตุการณ์นี้ = 4 ความน่าจะเป็นของ เหตุการณ์ที่จะหยิบได้ ลูกบอลสีเดียวกัน 4 10 ดังนั้น = = 0.4

11 2 = = 0.6 6 10 เหตุการณ์ที่จะหยิบได้ลูกบอล ต่างสีกัน มีผลลัพธ์ คือ
ข1ด1 , ข1ด2 , ข1ด3 , ข2ด1 , ข2ด2 และ ข2ด3 จะได้ จำนวนผลลัพธ์ของเหตุการณ์นี้ = 6 ความน่าจะเป็นของ เหตุการณ์ที่จะหยิบได้ ลูกบอลต่างสีกัน 6 10 ดังนั้น = = 0.6

12 ไพ่ เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ใช้เป็นสื่อ
ในการศึกษา เรื่อง ความน่าจะเป็น ไพ่ 1 สำรับ มีจำนวนไพ่ทั้งหมด 52 ใบ แบ่งเป็น 4 ชุด ได้แก่ ชุดโพดำ โพแดง ดอกจิก และข้าวหลามตัด ไพ่แต่ละชุด มี 13 ใบ

13 = = 0.07 4 52 จากการทดลองสุ่มหยิบไพ่ 1 ใบ
จากการทดลองสุ่มหยิบไพ่ 1 ใบ จากไพ่ทั้งสำรับหนึ่ง จะได้ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ต่าง ๆ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ - ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่จะหยิบไพ่ 1 ใบ ให้แต้ม 6 4 52 = = 0.07

14 - ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่จะหยิบไพ่ 1 ใบ ให้ได้ไพ่ดอกจิก
13 52 1 4 = = = 0.25 - ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่จะหยิบไพ่ 1 ใบ ให้ได้ไพ่สีแดง 26 52 = = 0.5

15 ตัวอย่างที่ 3 หยิบไพ่ 2 ใบ จากไพ่ 4 ใบ ซึ่งประกอบด้วย K โพดำ, K โพแดง, K ดอกจิก, K ข้าวหลามตัด จงหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ ต่อไปนี้ หยิบไพ่ 2 ใบพร้อมกัน ให้ได้ไพ่ สีเดียวกัน

16 ผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ จากการหยิบไพ่ 2 ใบ พร้อมกัน คือ
วิธีทำ ผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ จากการหยิบไพ่ 2 ใบ พร้อมกัน คือ (Kโพดำ, Kโพแดง) , (Kโพดำ, Kดอกจิก) , (Kโพดำ, Kข้าวหลามตัด) , (Kโพแดง, Kดอกจิก) , (Kโพแดง, Kข้าวหลามตัด), (Kดอกจิก, Kข้าวหลามตัด) (6 แบบ)

17 จะได้ จำนวนผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะ เกิดขึ้นได้ เป็น 6
จะได้ จำนวนผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะ เกิดขึ้นได้ เป็น 6 เหตุการณ์ที่จะหยิบไพ่ 2 ใบ พร้อมกัน ให้ ได้ไพ่สีเดียวกัน มีผลลัพธ์ 2 อย่าง คือ (Kโพดำ, Kดอกจิก) สีดำเหมือนกัน (Kโพแดง, Kข้าวหลามตัด) สีแดงเหมือนกัน

18 = = 0.33 2 6 จะได้ จำนวนผลลัพธ์ของเหตุการณ์เป็น 2 ดังนั้น
ความน่าจะเป็นของ เหตุการณ์ที่จะหยิบไพ่ 2 ใบ พร้อมกันให้ได้ไพ่สีเดียวกัน 2 6 = = 0.33


ดาวน์โหลด ppt คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google