งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553

2 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ในสังกัดกระทรวงนำร่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มิติด้านประสิทธิผล มิติด้านประสิทธิผล มิติด้านคุณภาพการให้บริการ มิติด้านคุณภาพการให้บริการ มิติด้านประสิทธิภาพ มิติด้านประสิทธิภาพ มิติด้านการพัฒนาองค์การ มิติด้านการพัฒนาองค์การ A+30% การเบิกจ่าย งบประมาณ การควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ B+3% C+5% 20% ความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบาย 3 2 2 1 20 มิติที่ 1 มิติที่2 มิติที่ 3 มิติที่ 4 ความสำเร็จตามแผน ปฏิบัติราชการของกรม/ เอกสารงบประมาณรายจ่าย A การบรรลุเป้าหมายของตัวชี้วัด ที่สอดคล้องกับภารกิจ ยุทธศาสตร์ ที่เน้นถึงคุณภาพการให้บริการ B การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดที่สอดคล้อง กับภารกิจหลัก ยุทธศาสตร์ที่เน้นถึง ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ C การบรรลุแผนพัฒนาองค์กร+หมวด7 ความสำเร็จตามแผนปฏิบัติ ราชการของกระทรวง ความสำเร็จในการขับเคลื่อน นโยบายสำคัญ/พิเศษของรัฐบาล ความสำเร็จตาม แผนปฏิบัติราชการ ของกลุ่มภารกิจ ความสำเร็จตามแผนปฏิบัติ ราชการร่วมระหว่างกระทรวง การพัฒนา ศูนย์บริการร่วม 5 3 10 2

3 รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 4 ความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบาย ผู้กำหนดนโยบาย หมายถึงหน่วยงาน บุคคล หรือคณะบุคคลที่ ตั้งขึ้นโดยกฎหมาย ซึ่งกำหนดนโยบายให้แก่ส่วนราชการ เช่น รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ/รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง ที่ส่วนราชการสังกัด คณะรัฐมนตรี สภาความมั่นคงแห่งชาติ พิจารณาจากผลสำรวจความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบายแก่ ส่วนราชการ โดยสำนักงาน ก.พ.ร. คำอธิบาย ประเด็นการสำรวจ ประกอบด้วย (1) ความพึงพอใจ ด้านความเข้าใจต่อนโยบายที่มอบหมาย (2) ความพึงพอใจ ด้านการนำนโยบายไปปฏิบัติ (3) ความพึงพอใจ ด้านการติดตามและนำเสนอผลให้ทราบ เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ1ระดับ2ระดับ3ระดับ4ระดับ5 6570758085

4 รายละเอียดตัวชี้วัด : ร้อยละของอัตราการเบิกจ่าย รายละเอียดตัวชี้วัด : ร้อยละของอัตราการเบิกจ่าย 1. ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณ รายจ่ายลงทุน 2. ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณ รายจ่ายในภาพรวม 3. ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินกู้ตามแผน ฟื้นฟูเศรษฐกิจระยะที่ 2

5 รายละเอียดตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ความแตกต่างจากปี 2552 1. ตัวชี้วัดผลผลัพธ์ของหมวดที่ดำเนินการ ส่วนราชการจะเลือกตัวชี้วัดที่สำนักงาน ก.พ.ร.กำหนดให้แทนการที่ส่วนราชการเลือกตัวชี้วัดเอง เนื่องจากเพื่อให้เกิด ความเป็นมาตรฐานในการวัดความสำเร็จ และสามารถสะท้อนผลการดำเนินงาน ของหมวดนั้นๆ ได้อย่างแท้จริง รวมทั้งสามารถผลักดันการยกระดับคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐในภาพรวมได้อย่างชัดเจน แต่อย่างไรก็ตาม ยังเปิดโอกาส สำหรับส่วนราชการที่จะกำหนดตัวชี้วัดเพิ่มเติมได้เอง เพื่อความสอดคล้องกับ ภารกิจบางประเภทที่มีลักษณะเฉพาะ และส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม 2. ให้ความสำคัญกับการดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ.2552 เพื่อเป็นการผลักดัน ให้ดำเนินการผ่านเกณฑ์ฯ ได้อย่างครบถ้วน โดยกำหนดน้ำหนักเพื่อการ “ซ่อม” ซึ่งหมายถึงค่าน้ำหนักคะแนนนี้จะใช้ตรวจประเมินในหมวดที่ดำเนินการไปแล้ว หากส่วนราชการใดไม่ผ่านเกณฑ์ในหมวดนั้นๆ ก็จะต้องดำเนินการให้ผ่านเกณฑ์ ดังกล่าว สำหรับส่วนราชการที่ผ่านเกณฑ์อย่างครบถ้วนแล้วจะได้ค่าคะแนนนี้ โดยปริยาย

6 ปฏิทินการดำเนินงานของกระทรวงนำร่อง ปีงบประมาณ 2553 ระยะเวลากิจกรรม 13 ส.ค.52สำนักงาน ก.พ.ร.ประชุมชี้แจง ก.ย.52จัดทำกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราฃการภายในกระทรวง แล้วเสร็จ และแจ้งให้กรมในสังกัดและสำนักงาน ก.พ.ร.ทราบ ต.ค.52กระทรวงจัดส่งคำรับรองฯของส่วนราชการในสังกัดที่ลงนามแล้ว พร้อมเอกสารประกอบ ให้สำนักงาน ก.พ.ร. ม.ค.53กระทรวงจัดส่งเอกสารสรุปผลการพิจารณาคำขอเปลี่ยนแปลง รายละเอียดตัวชี้วัดของส่วนราชการที่ขอให้พิจารณาให้ ก.พ.ร. มี.ค.53สิ้นสุดระยะเวลาการรับเรื่องขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดตัวชี้วัด เม.ย.53ส่งรายงานการประเมินตนเอง รอบ 6 เดือน และ e-SAR Card พ.ค.53สำนักงาน ก.พ.ร.ร่วมกับคณะกรรมการ Site Visit มิ.ย.53รายงานการประเมินตนเอง รอบ 9 เดือนผ่าน e-SAR Card ต.ค.53ส่งรายงานการประเมินตนเอง รอบ 12 เดือน และ e-SAR Card สำนักงาน ก.พ.ร.ร่วมกับคณะกรรมการ Site Visit

7


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google