งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าว รอบที่ 1 ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ที่ปลูกเหมือนภาคอื่นๆ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าว รอบที่ 1 ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ที่ปลูกเหมือนภาคอื่นๆ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การขึ้นทะเบียน ผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจหลัก ปี 2555/56 ประชุม Conference 30 พฤษภาคม 2555

2 กรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าว รอบที่ 1 ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ที่ปลูกเหมือนภาคอื่นๆ กิจกรรม กรอบระยะเวลา 1. การปลูก 1 พ.ค ต.ค. 2555 2. การเก็บเกี่ยว 1 ส.ค ก.พ. 2556 3. การขึ้นทะเบียน 1 มิ.ย พ.ย. 2555 4. การประชาคม 15 มิ.ย ธ.ค. 2555 5. การออกใบรับรอง 15 มิ.ย ธ.ค. 2555

3 กรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าว รอบที่ 1 ภาคใต้
กิจกรรม กรอบระยะเวลา 1. การปลูก 16 มิ.ย ก.พ. 2556 2. การเก็บเกี่ยว 16 ก.ค มี.ค. 2556 3. การขึ้นทะเบียน 4. การประชาคม 1 ส.ค เม.ย. 2556 5. การออกใบรับรอง 1 ส.ค เม.ย. 2556

4 กรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าว รอบที่ 1 พื้นที่พิเศษ พื้นที่รับน้ำนอง พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก พื้นที่เร่งปลูกข้าวเพื่อหลีกเลี่ยงฝนตกหนัก พื้นที่หว่านข้าวแห้งเพื่อรอฝน กิจกรรม กรอบระยะเวลา 1. การปลูก 1 มี.ค – 30 เม.ย. 2555 2. การเก็บเกี่ยว 1 มิ.ย – 31 ส.ค. 2555 3. การขึ้นทะเบียน 1 มิ.ย ส.ค. 2555 4. การประชาคม 5. การออกใบรับรอง 1 มิ.ย – 15 ก.ย. 2555

5 พื้นที่พิเศษ หมายถึง 1) พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก ที่มีความจำเป็นต้องปลูกข้าวรอบที่ 1 (นาปี) เร็วขึ้นเพื่อหลีกเลี่ยงน้ำท่วมในฤดูฝน 2) พื้นที่รับน้ำนองที่ต้องปลูกข้าวให้เร็วขึ้นเพื่อให้เก็บเกี่ยวทันก่อนที่จะปล่อยให้น้ำท่วมนอง 3) พื้นที่ที่มีความจำเป็นต้องเร่งปลูกข้าวโดยไม่เว้นช่วงต่อจากนาปรัง เพื่อหลีกเลี่ยงฝนตกหนักในช่วงเก็บเกี่ยว 4) พื้นที่ที่ปลูกข้าวในสภาพดินแห้งเพื่อรอฝน โดยวิธีการหว่านข้าวแห้ง (หว่านสำรวย) หรือหยอดข้าวแห้ง

6 พื้นที่พิเศษ ได้แก่ บางพื้นที่ ใน จังหวัดชัยนาท ปทุมธานีพระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สุพรรณบุรี กำแพงเพชร นครสวรรค์ พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์ อุทัยธานี และพื้นที่ในจังหวัดอื่นๆที่มีลักษณะเดียวกัน

7 กรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกมันสำปะหลัง
กิจกรรม กรอบระยะเวลา 1. การเก็บเกี่ยว 1 ต.ค. 2555– 30 ก.ย. 2556 2. การขึ้นทะเบียน 1 มิ.ย. 2555– 28 ก.พ. 2556 3. การประชาคม 15 มิ.ย. 2555–15 มี.ค. 2556 4. การออกใบรับรอง 15 มิ.ย มี.ค. 2556 ขึ้นทะเบียนได้เฉพาะแปลงที่มีอายุไม่น้อยกว่า 8 เดือน นับจากวันปลูก ถึง วันเก็บเกี่ยว

8 กรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
กิจกรรม กรอบระยะเวลา 1. การปลูก ในปีการผลิต 2555/56 2. การเก็บเกี่ยว - 3. การขึ้นทะเบียน 1 มิ.ย ต.ค. 2555 4. การประชาคม 15 มิ.ย – 30 พ.ย. 2555 5. การออกใบรับรอง 15 มิ.ย ธ.ค. 2555

9 การปรับปรุงการขึ้นทะเบียน ผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจหลักปี 2555/56 โดยใช้ฐานข้อมูลการขึ้นทะเบียน ปี 2554/55

10 การขึ้นทะเบียนผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจหลักปี 2555/56
มี 3ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 การขึ้นทะเบียนโดยใช้ฐานข้อมูลเดิม โดยรายเดิม / แปลงเดิมไม่ต้องใช้เอกสารหลักฐานแนบ กรณี เช่า ต้องมีสัญญาเช่า หรือหนังสือรับรองตามแต่กรณีแนบ ขั้นตอนที่ 2 การตรวจสอบ 1) การประชาคม 2) การสุ่มตรวจแปลง ขั้นตอนที่ 3 การออกใบรับรอง

11 ขั้นตอนการขึ้นทะเบียน
ขั้นตอนที่ 1. การขึ้นทะเบียน 1.1 สนง. กษอ. จัดพิมพ์แบบปิดประกาศยืนยันการขึ้น ทะเบียนรายหมู่บ้าน จากฐานข้อมูลในระบบโปรแกรมฯ โดยพิมพ์ มีข้อมูลเฉพาะแปลงที่ผ่านประชาคม ไม่พิมพ์ - กลุ่มพันธุ์ข้าวที่ขึ้นทะเบียน - วันที่เพาะปลูก - วันที่คาดว่าจะเก็บเกี่ยว

12 ขั้นตอนการขึ้นทะเบียน (ต่อ)
1.2 สนง.กษอ. ปิดประกาศรายชื่อผู้ขึ้นทะเบียน เพื่อให้เกษตรกรตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล อย่างน้อย 7 วัน 1.3 สนง.กษอ.นัดหมายเกษตรกรมา ยืนยัน แก้ไข และเพิ่มเติมข้อมูล วันปลูก /วันเก็บเกี่ยว/กลุ่มพันธุ์ข้าว 1.4 สนง.กษอ. พิมพ์แบบยืนยันการขึ้นทะเบียนเพื่อใช้ในวันนัดหมาย

13

14 ขั้นตอนการขึ้นทะเบียน (ต่อ)
1) กรณีเกษตรกรมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลพื้นที่ปลูกให้เกษตรกรขีดฆ่าและลงชื่อกำกับ 2) กรณี เพิ่มแปลงใหม่ต้องใช้แบบ ทพศ. และเอกสารประกอบการขึ้นทะเบียน เช่น หนังสือเอกสารสิทธิ์/ สัญญาเช่า ฯ 3) กรณีมีเกษตรกรขึ้นทะเบียนรายใหม่ ต้องใช้เอกสารหลักฐานและ หลักเกณฑ์เดิม 1.5 การบันทึกข้อมูล

15 ขั้นตอนที่ 2 การตรวจสอบ
2.1 การประชาคม จัดพิมพ์บัญชีรายชื่อเพื่อการประชาคม โดยการกำหนดวันประชาคมต้องหลังวันปลูกไม่น้อยกว่า 15 วัน และก่อนวันเก็บเกี่ยว 2.2 การสุ่มตรวจแปลง คณะกรรมการตรวจสอบระดับตำบลสุ่มเกษตรกร ร้อยละ10 ของเวทีประชาคม โดยใช้เครื่อง GPS ตรวจวัด ร้อยละ 10 ของเกษตรกรที่สุ่มได้ (เกษตรตำบล1 คน ควรได้ใช้ GPS อย่างน้อย 1 ครั้ง ) ในการสุ่มตรวจแปลงให้ความสำคัญกับเกษตรกรที่เช่าทุกประเภทและพื้นที่นอกเหนือเอกสารสิทธิ

16 ขั้นตอนที่ 3 การออกใบรับรอง
3.1 ปิดประกาศรายชื่อเกษตรกรที่ผ่านการตรวจสอบ 3.2 พิมพ์ ใบรับรอง 3.3 จัดทำบัญชีคุมการแจกใบรับรอง การจ่ายใบรับรองก่อนวันเก็บเกี่ยวอย่างน้อย 15 วัน

17 ขั้นตอนการขึ้นทะเบียน

18

19


ดาวน์โหลด ppt กรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าว รอบที่ 1 ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ที่ปลูกเหมือนภาคอื่นๆ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google