งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
กองวิชาวิทยาศาสตร์ ส่วนการศึกษา โรงเรียนเตรียมทหาร

2 Backward Design คืออะไร
Backward Design คือ แนวคิดในการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ของ Wiggins และ Motighe ในลักษณะ Benchmark Design หรือการอิงมาตรฐาน เป็นการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โดยกำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ (Learning Goals) ที่ต้องการ หรือมาตรฐานการเรียนรู้ขึ้นมาก่อน เพื่อกำหนดภาระงาน วิธีการประเมิน แล้วจึงออกแบบแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ (แผนการจัดการเรียนรู้)

3 แผนการจัดการเรียนรู้แบบเดิม แผนการจัดการเรียนรู้แบบ Backward Design
1. ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้มาสู่ ภาระงานและวิธีการประเมิน 1. กำหนดเป้าหมาย ภาระงานและวิธีการประเมินมาสู่การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2. เขียนแผนการจัดการเรียนรู้จากมาตรฐานการเรียนรู้สู่กิจกรรมการเรียนรู้ ภาระงานและวิธีการประเมิน 2. เขียนแผนการจัดการเรียนรู้จากมาตรฐานการเรียนรู้ สู่ภาระงาน วิธีการประเมินและกิจกรรมการเรียนรู้ 3. กรอบแนวคิด : ใช้หลักสูตร(วิชา) เป็นตัวตั้ง ด้านความรู้ เน้นทักษะเฉพาะวิชา 3. ใช้การออกแบบการเรียนรู้ที่ใช้ชีวิตของผู้เรียนเป็นตัวตั้ง โดยกำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ 4 แกน 3.1 ความรู้ที่คงทน 3.2 ความรู้ทักษะเฉพาะวิชา 3.3 ทักษะคร่อมวิชา 3.4 จิตพิสัย ค่านิยม เจตคติ

4 Backward Design ทำอย่างไร
1. กำหนดเป้าหมาย : มาตรฐานการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 2. หลักฐานผลการเรียน : ภาระงานและการประเมิน 3. ออกแบบกิจกรรม : กระบวนการเรียนรู้

5 1. เป้าหมายการเรียนรู้ (Learning Goals) มี 4 ข้อ
1. ความเข้าใจที่คงทน : คำถามรวบยอด (คำถามหลัก) 2. ความรู้ทักษะเฉพาะวิชา : มาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 3. ทักษะคร่อมวิชา : ทักษะกระบวนการการเรียนรู้ – การบูรณาการ 4. จิตพิสัย : ค่านิยม เจตคติ คุณลักษณะอันพึงประสงค์

6 2. หลักฐานผลการเรียน : ภาระงานและการประเมิน
2. หลักฐานผลการเรียน : ภาระงานและการประเมิน ทำได้โดยการสร้างผังการประเมินหลักฐานผลการเรียน ใช้การประเมินเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้ แล้วกำหนดภาระงานลงไป เช่น เป้าหมาย วิธีการประเมิน แบบที่ 1 แบบที่ 2 แบบที่ 3 แบบที่ 4 แบบที่ 5 แบบที่ 6 1. ความเข้าใจที่คงทน 2. ความรู้ทักษะเฉพาะวิชา 3. ทักษะคร่อมวิชา 4. จิตพิสัย ภาระงานกำหนดลงไป *หมายเหตุ จะประเมินอะไรบ้างให้กำหนดไว้ในช่องการประเมินแต่ละช่อง

7 3. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
คือการเขียนแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ (จัดลำดับ ก่อน-หลัง ยาก-ง่าย) ตัวอย่างเช่น การวัดและการประเมิน กิจกรรม สื่อ/แหล่งเรียนรู้ เวลา/ชั่วโมง 1. ความเข้าใจที่คงทน 2. ความรู้ทักษะเฉพาะวิชา 3. ทักษะคร่อมวิชา 4. จิตพิสัย 1.ชื่อ 2.ชื่อ 3.ชื่อ 4.ชื่อ

8 3.1 เอกสารประกอบการเรียน (ใบความรู้) รูปแบบใดก็ได้แต่ต้องมีข้อมูลครบถ้วน มีหัวข้อที่ประกอบด้วย
- ใบความรู้ที่...เรื่อง - ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง - เนื้อหา/ภาพประกอบ - บรรณานุกรม

9 3.2 ใบงาน ต้องชัดเจน ครบถ้วน ประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
- ใบงานที่....เรื่อง - ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (จุดประสงค์การเรียนรู้) - คำชี้แจง - งาน - เกณฑ์การให้คะแนน - ชื่อ ชั้น เลขที่

10 3.3 แบบประเมิน : ต้องเป็นแบบประเมินที่มี Rubric และมี Rating Scale มาเขียน เช่น
ชื่อนักเรียน/กลุ่ม รายการประเมิน กระบวนการ ทำงานเป็นทีม คุณภาพ ประโยชน์ รวม 5 20 1 2 3 เกณฑ์ Rubric รายการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนตามคุณภาพ 5 4 3 2 1 1.กระบวนการ 2.ทำงานเป็นทีม 3.คุณภาพ 4.ประโยชน์ ลำดับคุณภาพ Rating Scale

11 3.4 เอกสารอ้างอิง: ต้องเขียนเอกสารอ้างอิงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับแผนการจัดการเรียนรู้ของเราด้วย

12 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google