งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

“การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ กรณีศึกษาจังหวัดพิจิตร”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "“การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ กรณีศึกษาจังหวัดพิจิตร”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 “การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ กรณีศึกษาจังหวัดพิจิตร”
โดย นางดวงพร พูลสวัสดิ์กิติกูล นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ สสจ.พิจิตร

2 ข้อมูลทั่วไป 12 อำเภอ 888 หมู่บ้าน 86 ตำบล 73 อบต. 3 ทม. 25 ทต.
พื้นที่ประมาณ 4, ตารางกิโลเมตร 174,533 หลังคาเรือน ประชากร 546,731 คน 73 อบต. 25 ทต. 3 ทม. จ. พิษณุโลก จ.กำแพงเพชร จ.เพชรบูรณ์ จ. นครสวรรค์ ที่มา : ที่ทำการปกครอง จ.พิจิตร ข้อมูล ณ 31 ธค. 54 ศูนย์บริหารการทะเบียน ภาค 6 จ.พิจิตร ณ 30 มิย. 54

3 ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน พฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ปัญหาสุขภาพที่สำคัญของจังหวัดพิจิตร ปัญหา ไข้เลือดออก ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน พยายามฆ่าตัวตาย แม่และเด็กตาย สารเคมีในเลือด อุบัติเหตุจราจร พฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น

4 เจ้าหน้าที่มีความสุข
วิสัยทัศน์ สสจ.พิจิตร พิจิตรน่าอยู่ ประชาชนสุขภาพดี ทุกภาคีมีส่วนร่วม เจ้าหน้าที่มีความสุข

5 กรอบแนวคิดการพัฒนาแบบ Area Oriented Approach
สสจ. สสอ. สนับสนุน 1.ประชาชน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพ ตำบล/ ชุมชน ภาครัฐ ท้องถิ่น ประชาชน การส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค 2.ตำบลจัดการสุขภาพมีคุณภาพ ติดตาม ประเมิน บูรณาการงาน การรักษาพยาบาล 3.กองทุนสุขภาพมีประสิทธิภาพ การฟื้นฟูสุขภาพ 4.รพ.สต.ได้มาตรฐาน 5.หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใช้แผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์

6 DHS ??????? LOGO

7 กรอบแนวคิดการศึกษา

8 เพื่อศึกษาบทเรียนการดำเนินงานของเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ
วัตถุประสงค์ 1 เพื่อศึกษาบทเรียนการดำเนินงานของเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ 2 เพื่อสร้างข้อเสนอแนะเชิงนโยบายด้านการเชื่อมโยงระบบเครือข่ายบริการสุขภาพ LOGO

9 วีธีการ การศึกษาเชิงคุณภาพ
พื้นที่ศึกษา 3 อำเภอ ( อ.สามง่าม อ.ตะพานหิน อ.บางมูลนาก ) กลุ่มตัวอย่าง จนท.สาธารณสุข จนท.ของ อปท. อสม.และแกนนำสุขภาพ เครื่องมือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก ระยะเวลา เมย. – กย LOGO

10 อำเภอสามง่าม OPD Zero อำเภอจัดการสุขภาพ
การปรับระบบบริการของโรงพยาบาล พัฒนา รพ.สต. ปรับระบบสนับสนุน OPD Zero อำเภอจัดการสุขภาพ (บริการสุขภาพแบบมีส่วนร่วมและกลไกนโยบายสาธารณะเพื่อสร้างสุขภาพ) ผลที่เกิดขึ้น 1.ด้านผู้รับบริการ ได้รับบริการความสะดวก ใกล้บ้าน ปริมาณผู้ป่วยที่มารับบริการที่ รพ.สต. เพิ่มมากขึ้น ( 95%) 2.ด้านผู้ให้บริการ เกิดทีม เรียนรู้ร่วมกัน ชีวิตมีคุณค่า 3. ด้านชุมชน มีกลุ่ม มีเครือข่าย ชมรม LOGO

11 เกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย
อำเภอตะพานหิน พื้นที่ต้นแบบการพัฒนาโรงพยาบาลอาหารปลอดภัย ขยายผล เกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย พัฒนาต่อเนื่อง Tapanhin Green Society ผลที่เกิดขึ้น ขยายกลุ่มปลูกพืชผักปลอดภัย เกษตรกรลดต้นทุนการผลิต มีรายได้เพิ่มขึ้น แหล่งศึกษาดูงานของนักเรียน เกษตรกรไม่มีสารพิษตกค้างในเลือด เครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ชุมชนได้บริโภคผักปลอดสาร สิ่งแวดล้อมในชุมชน สภาพแวดล้อมดี LOGO

12 อำเภอคุณธรรม สร้างสุข
อำเภอบางมูลนาก พื้นที่ต้นแบบโรงเรียนคุณธรรม ขยายผลภาคีเครือข่ายสุขภาพ 7 เครือข่าย อำเภอคุณธรรม สร้างสุข สังคมคุณธรรม นำสุข (การสร้างคุณค่าร่วม เมตตา จิตอาสา และความรับผิดชอบ) ผลงานที่เกิดขึ้น มีรูปแบบ หรือต้นแบบด้านการพัฒนาคุณภาพ ผ่านโครงงานด้านการพัฒนา Project-based learning กลุ่มกิจกรรมจิตอาสาที่กว้างขวางและมีความหลากหลาย ประชาชนด้อยโอกาสได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง องค์กรชุมชนมีความเข้มแข็งและเกิดรูปแบบการจัดการตนเอง LOGO

13 การเตรียมคน สร้างทีมงานและกลไกสำหรับการขับเคลื่อน
รูปแบบการพัฒนา 3 อำเภอ การเตรียมคน สร้างทีมงานและกลไกสำหรับการขับเคลื่อน การกำหนดประเด็นตามความเข้มแข็งของกลุ่ม หลักการมีส่วนร่วมของหุ้นส่วนภาคีเครือข่าย ติดตามผลมุ่งเน้นที่สร้างการเรียนรู้ระหว่างกันและกัน พัฒนาศักยภาพของกลุ่มแกนนำด้วยการพาทำ เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง การจัดการสื่อสารกับสาธารณะ LOGO

14 บทเรียน จาก 3 พื้นที่ ผู้นำและกลไกขับเคลื่อน เน้นปัญหาของประชาชน
บทเรียน จาก 3 พื้นที่ เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ หลากหลาย เป้าหมายชัดเจน ผู้นำและกลไกขับเคลื่อน เน้นปัญหาของประชาชน ใช้องค์ความรู้ภายในองค์กร/ชุมชน การดำเนินงานที่เริ่มจากต้นทุนเดิมของพื้นที่ เน้นกระบวนการ ออกแบบกระบวนการ LOGO

15 บทเรียน จาก 3 พื้นที่ (ต่อ)
บทเรียน จาก 3 พื้นที่ (ต่อ) มีทีมหนุน ทรัพยากร กระบวนการ องค์ความรู้ ลงมือทำ และต่อเนื่อง ต้องมีทีมติดตาม LOGO

16 บทเรียน จาก 3 พื้นที่ ผลลัพธ์ต่อประชาชน
บทเรียน จาก 3 พื้นที่ ผลลัพธ์ต่อประชาชน การพัฒนาประเด็นหลัก เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย เป็นจุดสำคัญในการนำเข้าสู่ระบบสุขภาพ การรวมกลุ่มตามประเด็น สร้างความเข้มแข็ง มีระบบการจัดการทุน การเชื่อมประสานทั้งภายในและภายนอก การได้รับบริการที่มีมาตรฐานใกล้บ้าน LOGO

17 บทเรียน จาก 3 พื้นที่ ปัจจัยสำคัญ
บทเรียน จาก 3 พื้นที่ ปัจจัยสำคัญ ออกแบบกลไกใหม่ อิทธิพลของกระบวนการจัดการเรียนรู้และถอดบทเรียน ดึงเอาศักยภาพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน เกิดการสานต่อพลังความคิด ยกระดับเป้าหมายเฉพาะกลุ่มขึ้นมาเป็นเป้าหมาย หรือคุณค่าร่วมกัน ภาวะผู้นำ การนำองค์กร ในทุกระดับ LOGO

18 สรุปผล ข้อเสนอแนะ ( เบื้องต้น )
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และ อำเภอต้องสร้างกรอบนโยบายและ แนวทางการพัฒนา DHS ร่วมกัน หน่วยงานระดับพื้นที่ DHS ต้องสร้างภาวการณ์นำองค์กร และการกำหนดกลยุทธ์เชิงพื้นที่ หน่วยบริการ และภาคีสุขภาพต้องปรับกรอบความคิดและทำงานร่วมกัน พัฒนาศักยภาพของบุคลากร และ ภาคีสุขภาพ LOGO

19 สวัสดี

20 คำขวัญจังหวัดพิจิตร ถิ่นประสูติพระเจ้าเสือ แข่งเรือยาวประเพณี พระเครื่องดีหลวงพ่อเงิน เพลิดเพลินบึงสีไฟ ศูนย์รวมใจหลวงพ่อเพชร รสเด็ดส้มท่าข่อยข้าวเจ้าอร่อยลือเรื่อง ตำนานเมืองชาละวัน


ดาวน์โหลด ppt “การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ กรณีศึกษาจังหวัดพิจิตร”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google