งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
Protein JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school

2 โปรตีน(Protein) โปรตีนเป็นสารชีวโมเลกุล(Biomolecules) ซึ่งเป็นสารที่มีโมเลกุลใหญ่ เกิดจากโมเลกุลเล็กๆหลายๆโมเลกุลมาเชื่อมต่อกัน โมเลกุลเล็กของโปรตีนเรียกว่า กรดอะมิโน(Amino acid) - โปรตีนเป็นสารที่พบมมากที่สุดในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตโดยทั่วไปในเซลล์พืชและสัตว์มีโปรตีนอยู่มากกว่าร้อยละ50ของน้ำหนักแห้ง - ธาตุองค์ประกอบที่สำคัญคือ C, H, O และ N

3 กรดอะมิโน(Amino acid)

4 โปรตีน(Protein) ตัวอย่างกรดอะมิโน

5 โปรตีน(Protein) ตัวอย่างกรดอะมิโน

6 โปรตีน(Protein) ตัวอย่างกรดอะมิโน

7 โปรตีน(Protein) ตัวอย่างกรดอะมิโน

8 โปรตีน(Protein) ตัวอย่างกรดอะมิโน

9 โปรตีน(Protein) ตัวอย่างกรดอะมิโน

10 โปรตีน(Protein) ตัวอย่างกรดอะมิโน

11 โปรตีน(Protein) กรดอะมิโนเป็นสารที่มีสมบัติเป็นได้ทั้งกรดและเบส ถ้าโมเลกุลอยู่ใน pH ที่เหมาะสมจะแสดงสภาพเป็นทั้งไอออนบวกและไอออนลบในโมเลกุลเดียวกัน เรียกว่า Zwitterion

12 พันธะเพปไทด์(Peptide bond)

13 พันธะเพปไทด์(Peptide bond)

14 พันธะเพปไทด์(Peptide bond)

15 จำนวนโมเลกุลของกรดอะมิโน Dipeptide 2 Tripeptide 3 Tetrapeptide 4
โมเลกุลเพปไทด์ โมเลกุลเพปไทด์ จำนวนโมเลกุลของกรดอะมิโน Dipeptide 2 Tripeptide 3 Tetrapeptide 4 Polypeptide 5 – 35 Protein คือ Polypeptide ที่มีมวลโมเลกุลมากกว่า 5000

16 โมเลกุลเพปไทด์

17 การเขียนลำดับของกรดอะมิโน
Tyrosine(Tyr) Histidine(His) Cysteine(Cys) Tyr His Cys Tyr-His-Cys Tyr-Cys-His His-Tyr-Cys His-Cys-Tyr Cys-Tyr-His Cys-His-Tyr

18 Tyrosine – Histidine – Cysteine Tyrosylhistidylcysteine
การเรียกชื่อโมเลกุลเพปไทด์ ให้เรียกชื่อกรดอะมิโนลำดับแรก...และลำดับถัดมา โดยเปลี่ยนคำลงท้ายจาก -อีน(-ine) เป็น-อิล(-yl) แล้วต่อด้วยชื่อกรดอะมิโนลำดับสุดท้าย ดังตัวอย่าง Tyrosine – Histidine – Cysteine Tyr – His – Cys Tyrosylhistidylcysteine

19 การเรียกชื่อโมเลกุลเพปไทด์

20 โครงสร้างของโปรตีน โครงสร้างปฐมภูมิ โครงสร้างทุติยภูมิ
(primary structure) โครงสร้างทุติยภูมิ (secondary structure) โครงสร้างจตุรภูมิ (quarternary structure) โครงสร้างตติยภูมิ (tertiary structure)

21 โครงสร้างของโปรตีน

22 - เป็นโครงสร้างที่แสดงลำดับกรดอะมิโนในสายเพปไทด์หรือในโมเลกุลโปรตีน
โครงสร้างปฐมภูมิ - เป็นโครงสร้างที่แสดงลำดับกรดอะมิโนในสายเพปไทด์หรือในโมเลกุลโปรตีน

23 โครงสร้างทุติยภูมิ เป็นโครงสร้างที่เกิดจากการขดหรือม้วนตัวของโครงสร้างปฐมภูมิ และเกิดการสร้างพันธะไฮโดรเจนระหว่างC=O….N-H เกิดโครงสร้างแบบ -helix และ -plated sheet

24 โครงสร้างทุติยภูมิ เป็นโครงสร้างที่เกิดจากการขดหรือม้วนตัวของโครงสร้างปฐมภูมิ และเกิดการสร้างพันธะไฮโดรเจนระหว่างC=O….N-H เกิดโครงสร้างแบบ -helix และ -plated sheet

25 โครงสร้างตติยภูมิ - เป็นโครงสร้างที่เกลียวแอลฟาและบริเวณที่ไม่ใช่เกลียวแอลฟาม้วนเข้าหากันและไขว้กันโดยมีแรงยึดเหนี่ยวอ่อนๆ

26 โครงสร้างจตุรภูมิ เป็นโครงสร้างที่เกิดจากการรวมตัวของหน่วยย่อยชนิดเดียวหรือต่างชนิดกันของโครงสร้างตติยภูมิ อาจจะมีการรวมกันเป็นลักษณะก้อนกลมหรือเป็นมัดคล้ายเส้นใย

27 ประเภทของโปรตีน โปรตีนเส้นใย(fibrous protein)
โปรตีนก้อนกลม(globular protein) (การจัดตัวในโครงสร้าง 3 มิติ)

28 โปรตีนเส้นใย ประเภทของโปรตีน โปรตีนก้อนกลม
เกิดจากสายพอลิเพปไทด์รวมตัวม้วนพับพันกันและอัดแน่นเป็นก้อนกลม ละลายน้ำได้ดี ทำหน้าที่เกี่ยวกับกระบวนการเมทาบอลิซึมต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ โปรตีนเส้นใย เกิดจากสายพอลิเพปไทด์พันกันในลักษณะเหมือนเส้นใยยาวๆ ละลายน้ำได้น้อย ทำหน้าที่เป็นโปรตีนโครงสร้าง มีความแข็งแรงและยืดหยุ่นสูง

29 ตัวอย่างโปรตีนเส้นใย
Keratin Silk

30 ตัวอย่างโปรตีนเส้นใย
Casein Albumin Enzyme

31 ประเภทของโปรตีน ประเภทของโปรตีน หน้าที่ ตัวอย่าง โปรตีนเร่งปฏิกิริยา
เร่งปฏิกิริยาในเซลล์สิ่งมีชีวิต เอ็นไซม์ โปรตีนขนส่ง ขนส่งสารไปสู่ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ฮีโมโกลบิน โปรตีนโครงสร้าง ให้ความแข็งแรงและช่วยคงรูปร่างโครงสร้างต่าง ๆของร่างการ คอลลาเจน เคราติน โปรตีนสะสม สะสมธาตุต่าง ๆ เฟอริทิน

32 ประเภทของโปรตีน ประเภทของโปรตีน หน้าที่ ตัวอย่าง โปรตีนป้องกัน
ป้องกันและกำจัดสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาในเซลล์ แอนติบอดี โปรตีนฮอร์โมน แตกต่างกันตามชนิดของฮอร์โมนนั้นๆ ควบคุมการเจริญเติบโต ควบคุมการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต Growth hormone Insulin

33 ปัจจัยที่มีผลต่อการแปรสภาพของโปรตีน
ความร้อนและรังสีอัลตราไวโอเลต ตัวทำละลายอินทรีย์ เช่น เอทานอล แอซิโตน ความเป็นกรด หรือเป็นเบส การฉายรังสีเอกซ์(X – ray) การเขย่าหรือเหวี่ยงแรงๆ ทำให้ตกตะกอน

34 การทดสอบไบยูเรต(Biuret test)
การทดสอบไบยูเรต เป็นปฏิกิริยาเฉพาะที่ให้ผลกับสารที่มีพันธะเพปไทด์ตั้งแต่ 2 พันธะขึ้นไป ให้สารสีน้ำเงินม่วง ซึ่งเป็นสารประกอบเชิงซ้อนของCu2+ กับอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวของไนโตรเจนในพันธะเพปไทด์และน้ำ

35 เอ็นไซม์(Enzyme) เอ็นไซม์ เป็นโปรตีนที่ทำหน้าที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในเซลล์สิ่งมีชีวิต

36 ปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานของเอนไซม์
ชนิดของสารตั้งต้น ความเข้มข้นของสารตั้งต้น ความเข้มข้นของเอนไซม์ ความเป็นกรด-เบสของสารละลาย อุณหภูมิ สารยับยั้ง สารกระตุ้น


ดาวน์โหลด ppt JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google