งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 6 การจัดการโครงการ Project Management ญาลดา พรประเสริฐ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 6 การจัดการโครงการ Project Management ญาลดา พรประเสริฐ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 6 การจัดการโครงการ Project Management ญาลดา พรประเสริฐ

2 บทนำ การจัดการโครงการถือเป็นเรื่องที่สำคัญ เพราะเกี่ยวข้องกับ
ทรัพยากรและเงินลงทุนมหาศาล จึงต้องมีการวางแผนอย่าง เป็นระบบ และต้องหาวิธีการเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการ วางแผนและควบคุมเพื่อช่วยในการอำนวยความสะดวก

3 ความหมาย การดำเนินการตามกระบวนการของกิจกรรม(วางแผน ชี้แนะ
ติดตาม ควบคุมโครงการ) โดยแต่ละกิจกรรมจะมีวันเริ่มต้นและสิ้นสุด ภายใต้ระยะเวลา ทรัพยากรและเงินลงทุนที่กำหนดไว้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

4 หน้าที่ความ รับผิดชอบ
ผู้บริหารโครงการ ความเป็นผู้นำ การจัดการ แก้ไขปัญหา บริหารทีมงาน กำหนดขอบเขต ของโครงการ การวางแผนงาน จัดตารางการ ดำเนินงาน กำกับและควบคุม โครงการ หน้าที่ความ รับผิดชอบ ทักษะ

5 CPM/PERT เทคนิคที่ใช้ในการวางแผนกำหนดงาน (Scheduling)และการควบคุม (Controlling)เรียกว่าการวิเคราะห์สายงาน วิกฤติ (Critical Path Analysis)ซึ่งมีเทคนิคที่ นิยมใช้กันคือ CPM(Critical Path Method)และ (Program Evaluation and Review Technique)

6 CPM (Critical Path Method)
1. CPM เป็นเครื่องมือในการวางแผน(Planning) การกำหนดเวลางาน(Scheduling) การควบคุม (Controlling) 2. ผู้วางแผนต้องมีประสบการณ์ในการ ทำงานมาเป็นอย่างดี 3. ทราบรายละเอียดเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายและ ทรัพยากรต่างๆของแต่ละงาน 4. เวลาที่ใช้ในการทำงานแน่นอน

7 PERT (Program Evaluation and Review Technique)
ใช้ในการปรับปรุงวิธีการวางแผนงานและ ประเมินโครงการใหม่ๆ ผู้วางแผนไม่เคยมีประสบการณ์ในการทำงาน ระหว่างการปฏิบัติงานมักมีการเปลี่ยนแปลงใน รายละเอียดงานบ่อยๆ เน้นความสำคัญที่เหตุการณ์ งานแต่ละงานมีเวลาที่ไม่แน่นอน เป็นโครงการใหม่ที่ไม่เคยทำมาก่อน

8 ศึกษารายละเอียดโครงการ
ขั้นตอนของ PERT/CPM PERT/CPM ศึกษารายละเอียดโครงการ สร้างข่ายงาน วิเคราะห์ข่ายงาน

9 วิธีการสร้างขอบข่ายงาน
กิจกรรมบนเส้นเชื่อม (Activity on Arrow) กิจกรรมบนจุดเชื่อม (Activity on Node) A A

10 กฎการเขียนขอบข่ายงาน
กฎข้อที่ 1 ก่อนกิจกรรมใดๆ จะเริ่มต้นกิจกรรมที่อยู่ก่อนหน้า ต้องทำสำเร็จหมดทุกกิจกรรมก่อน A C 2 1 4 B 3

11 กฎการเขียนข่ายงาน A C B
กฎข้อที่ 2 ความยาวของลูกศรไม่แสดงระยะเวลาของกิจกรรม A C 1 4 2 B 3

12 กฎการเขียนขอบข่ายงาน
กฎข้อที่ 3 หมายเลขในข่ายงานเดียวกันต้องไม่ซ้ำกัน และเรียงจากน้อยไปหามาก A B C 1 2 3 4

13 กฎการเขียนข่ายงาน C A D B
กฎข้อที่ 4 เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นพร้อมกัน จะสิ้นสุดพร้อมกันไม่ได้ C A D 1 2 3 4 B

14 กฎการเขียนข่ายงาน วิธีแก้ไข C A D B
กฎข้อที่ 4 เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นพร้อมกัน จะสิ้นสุดพร้อมกันไม่ได้ วิธีแก้ไข 2 C A D 1 2 3 4 B

15 กฎการเขียนข่ายงาน C E A F B D G กฎข้อที่ 5
เหตุการณ์เริ่มต้นเพียงจุดเดียว และมีเหตุการณ์สิ้นสุดเพียงจุดเดียว C E 2 3 A 4 F 1 4 B D 2 3 G

16 กฎการเขียนข่ายงาน B C A A ผิด กฎข้อที่ 6 ไม่ควรเขียนลูกศรเป็นเส้นโค้ง
3 1 2 4 A ผิด

17 กฎการเขียนข่ายงาน วิธีแก้ไข 2 A C 2 3 B

18 กฎการเขียนโครงข่ายงาน
กฎข้อที่ 7 ไม่ควรเขียนโครงข่ายงานซ้อนกันหรือทับกัน 2 E A B 1 3 D C 2

19 ตัวอย่างการเขียนโครงข่ายงานและกิจกรรมหุ่น
A C D 1 2 3 Act B_Act A B C D E - B , C 5 B E 4

20 ตัวอย่างการเขียนข่ายงานและกิจกรรมหุ่น
2 D Act B_Act A B C D E F - A,B B,C A B E 1 3 5 C F 4

21 ตัวอย่างการเขียนข่ายงานและกิจกรรมหุ่น
2 Act B_Act A B C D E F - A,B B,C D A B E 1 3 5 5 C F 4

22 ตัวอย่างการเขียนโครงข่ายงานและกิจกรรมหุ่น
C 2 5 Act B_Act A B C D E - A,B E A 1 5 B D 4

23 การคำนวณหาเส้นทางวิกฤต
เทคนิค CPM เทคนิค PERT

24 สายงานวิกฤต สายงานวิกฤต (Critical Paths) จะพิจารณาจากสายงานที่มีเวลานาน หรือยาวที่สุด ซึ่งในที่นี้คือสายงาน รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 8 วัน นั้นหมายถึง การดำเนินงานทุกอย่างในแต่ละขั้นตอนจะแล้วเสร็จภายใน 8 วัน โดยในโครงการอาจมีสายงานวิกฤตมากกว่า 1 สายงานก็เป็นได้

25 เทคนิค CPM ขั้นตอนแรก เรียกว่า การเดินหน้า(Forward Pass) เริ่มจากโหนด เริ่มต้น(Start node) เคลื่อนที่ไปสู่โหนดสุดท้าย(end node) แสดงถึง เวลาเริ่มต้นที่เร็วที่สุด(Earliest Start Time : ES) ขั้นตอนที่สอง เรียกว่า การถอยหลัง(Backward Pass) เริ่มจากโหนด สุดท้าย(End node) ถอยหลังไปยังโหนดเริ่มต้น(Start node) แสดง ถึงเวลาที่เสร็จช้าที่สุด(Latest Finish Time : LF)

26 การคำนวณการเดินหน้า(Forward Pass)
เริ่มต้นทำงานจากโนดแรก ESi = 0 หาเวลาเริ่มต้นที่เร็วที่สุดที่โหนด j(ESj) จากสูตร Esj = max(Esi + tij)

27 สูตรคำนวณ(S) ส่วนที่เป็นการกำหนดเวลาไป ข้างหน้า(Forward Pass)
ESij = max(ESi + tij) EFij = (ESi + tij)

28 ES LF EF LS 3 LF 8 LF 14 LF 20 LF LF 23 LF 2 LF 6 LF

29 สูตรคำนวณ(S) ส่วนที่เป็นการกำหนดเวลาย้อนหลัง(Backward Pass)
LFij = min(LFi - tij) LSij = (LFi - tij)

30 ES LF 3 5 8 10 14 14 20 20 23 23 2 2 6 6

31 node ชื่องาน เวลางาน เริ่มเร็วที่สุด ES เสร็จเร็วที่สุด EF เริ่มช้าที่สุด LS เสร็จช้าที่สุด LF 1 – 2 * 1 – 3 2 – 4 * 3 – 5 2 – 5 * 5 – 6 4 – 6 4 – 7 * 6 – 7 * 7 – 8 A B C D dummy E F G H 3 2 5 4 8 6 14 20 12 23 10 * งานที่อยู่ในสายงานวิกฤต

32 1 ES = 0 LS = 2 EF = 3 LF = 5 t = 3 S = 2 ES = 3 LS = 5 EF = 8 LF = 10
D 1 2 4 3 5 6 7 8 A ES = 0 LS = 2 EF = 3 LF = 5 t = 3 S = 2 C ES = 3 LS = 5 EF = 8 LF = 10 t = 5 S = 2 B t = 2 ES = 0 LS = 0 EF = 2 LF = 2 S = 0 t = 4 ES = 2 LS = 2 EF = 6 LF = 6 E t = 8 ES = 6 LS = 6 EF = 14 LF = 14 G t = 6 ES = 14 LS = 14 EF = 20 LF = 20 H t = 3 ES = 20 LS = 20 EF = 23 LF = 23 F ES = 8 LS = 10 EF = 12 LF = 14 S = 2 T = 23 วัน

33 การคำนวนของ PERT วิธีการที่ใช้โดยทั่วไป คือ ตั้งสมมติฐานรูปแบบความน่าจะเป็นของงานต่าง ๆ จากคุณสมบัติพิเศษของรูปแบบความน่าจะเป็นซึ่งมีการกระจาย แบบเบตา(beta distribution) จะมีลักษณะดังนี้ คือ มีโนดเพียงโนดเดียว และมีขอบเขตของข้อมูลต่ำสุด และสูงสุด ดังนั้น ในการคาดคะเนเวลาที่ใช้ในการทำงานจะต้องมีข้อมูลเวลาในการทำงาน 3 ค่า คือ เวลาที่เร็วที่สุดที่ใช้สำหรับงานนั้น (optimistic time estimate) , a เวลาที่ช้าที่สุดที่ใช้สำหรับงานนั้น (pessimistic time estimate), b เวลาของงานซึ่งเป็นไปได้ มากที่สุดสำหรับงานนั้น (most likely time estimate), m

34 สามารถคำนวณได้จากสูตรดังนี้ คือ(Chase, Aquilano, Jacobs, 2001, p.78)
เวลาที่คาดว่าจะใช้ในการทำกิจกรรม te = te = เวลาเฉลี่ย (average time)  = S = ส่วนค่าความแปรปรวน (variance) V ของงานมีค่าเท่ากับ S2 หรือ  ดังนั้น V = 2 =

35 หลังจากนั้น นำค่า Z ที่คำนวณได้ไปเปิดตารางมาตรฐาน (standard normal)
= หลังจากนั้น นำค่า Z ที่คำนวณได้ไปเปิดตารางมาตรฐาน (standard normal) เราจะทราบค่าความน่าจะเป็นในการแล้วเสร็จของโครงการในวันที่ D

36 ตัวอย่างที่ 6.2 การวิเคราะห์โครงการด้วยวิธี PERT ซึ่งสมมติว่าเป็นโครงการจัดงานแสดงสินค้าของนักศึกษาโดยมีประธานการจัดการได้รวบรวมข้อมูล และกำหนดขั้นตอนในการดำเนินงานดังสรุปได้ในตารางที่ 6.2

37 3 3 8 8 14 14 5 7 21 21 27 27 10 10

38 การเร่งโครงการ สายงานวิกฤต คือ สายงานที่มีระยะเวลานาน ซึ่งถือเป็นสายงานที่มีความสำคัญ หากงานหรือกิจกรรมภายในสายงานวิกฤตช้ากว่าที่กำหนดไว้ในโครงการ นั่นหมายถึง โครงการก็จะเสร็จล่าช้าไปด้วย ดังนั้นการควบคุมโครงการจึงมีความจำเป็นต้องควบคุมกิจกรรมในสายงานวิกฤตให้เป็นไปตามที่ได้วางแผนไว้

39 จบแล้วจ้า


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 6 การจัดการโครงการ Project Management ญาลดา พรประเสริฐ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google