งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รายงานผลการดำเนินงานตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการกรมชลประทาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 วันที่ 29 ตุลาคม 2557.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รายงานผลการดำเนินงานตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการกรมชลประทาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 วันที่ 29 ตุลาคม 2557."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รายงานผลการดำเนินงานตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการกรมชลประทาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 วันที่ 29 ตุลาคม 2557

2 ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน ประกอบด้วย กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดร่วม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ น้ำหนักรวม 50 กลุ่มที่ 2 ตัวชี้วัดมิติภายนอกของกรมชลประทาน น้ำหนักรวม 20 กลุ่มที่ 3 ตัวชี้วัดมิติภายในองค์กร น้ำหนักรวม 30 2

3 กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดร่วม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ น้ำหนักรวม 50 ตัวชี้วัดร่วม กษ.น้ำหนักคะแนน 1.1 รายได้เงินสดทางการเกษตรของเกษตรกรเฉลี่ยต่อ ครัวเรือน (บาท/ครัวเรือน/ปี) 10 na 1.2 ผลผลิตพืชสำคัญเฉลี่ยต่อไร่ (กิโลกรัมต่อไร่)20 1.2.1 ข้าวนาปี (f 460 กิโลกรัมต่อไร่) 1.2.2 ข้าวนาปรัง (f 670 กิโลกรัมต่อไร่) 1.2.3 ยางพารา (f 277 กิโลกรัมต่อไร่) 1.2.4 มันสำปะหลัง (f 3,553 กิโลกรัมต่อไร่) 1.2.5 ปาล์มน้ำมัน (f 3,223 กิโลกรัมต่อไร่) 1.2.6 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (f 710 กิโลกรัมต่อไร่) 443333443333 4.0000 4.2000 3.4286 3.7556 5.0000 3.3750 1.3 จำนวนพื้นที่ชลประทานและแหล่งน้ำที่เพิ่มขึ้น (ไร่)20na รวม50 3

4 ตัวชี้วัดร่วม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ น้ำหนัก คะแนน 1.3 จำนวนพื้นที่ชลประทานและแหล่งน้ำที่เพิ่มขึ้น (ไร่)20na 1. กรมชลประทาน : เป้าหมายรวม 250,690 ไร่ จำนวน 91 รายการ (โครงการขนาดใหญ่ 10,000 ไร่ จำนวน 1 รายการ / โครงการขนาดกลาง 129,600 ไร่ จำนวน 5 รายการ /โครงการขนาดเล็ก 111,090 ไร่ จำนวน 85 รายการ) ผลงาน 210,062 ไร่ 2. กรมพัฒนาที่ดิน : การก่อสร้างแหล่งน้ำชุมชนและพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการ อนุรักษ์ดินและน้ำ รวมพื้นที่ 61,836 ไร่ ผลงาน........... ไร่ 3. สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม : การก่อสร้างแหล่งน้ำและระบบ ส่งน้ำในพื้นที่ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม รวมพื้นที่ 2,513 ไร่ ผลงาน......... ไร่ เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1ระดับ 2ระดับ 3ระดับ 4ระดับ 5 189,023220,527252,031283,535315,039 60 %70 %80 %90 %100 % (รวม 3 กรม) 4

5 ตัวชี้วัดร่วม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ น้ำหนัก คะแนน 1.3 จำนวนพื้นที่ชลประทานและแหล่งน้ำที่เพิ่มขึ้น (ไร่)20 โครงการเป้าหมาย (ไร่) ผลงาน (ไร่) หมายเหตุ ขนาดใหญ่ 1 รายการ 10,000 คำชี้แจงปัญหาอุปสรรค ที่ไม่สามารถดำเนินการได้ ตามรายละเอียดที่แนบ ขนาดกลาง 5 รายการ 129,600114,600 ขนาดเล็ก 85 รายการ 111,090 *ยืนยันพื้นที่ 98,462 85,462 รวม250,690 ยืนยันพื้นที่ 238,062 210,062 5 * ยืนยันพื้นที่ เป็นการตรวจสอบพื้นที่ภายหลังการจัดทำคำรับรองฯ กรณีตัวเลขเดิม เป็นเป้าหมายตาม พ.ร.บ.

6 ตัวชี้วัดร่วม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ น้ำหนัก คะแนน 1.3 จำนวนพื้นที่ชลประทานและแหล่งน้ำที่เพิ่มขึ้น (ไร่)20 6 แนวทางเสนอปรับเปลี่ยน ปี 2558 เปลี่ยนชื่อตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินผล ดังนี้ 1.ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของจำนวนพื้นที่ชลประทานและแหล่งน้ำ ที่เพิ่มขึ้นเทียบกับเป้าหมายตามแผน 2.เกณฑ์การให้คะแนน : ประเมินให้คะแนนแยกรายการ โดยถ่วงน้ำหนักตามปริมาณ พื้นที่ของแต่ละรายการ ให้คะแนนตามความก้าวหน้าของแต่ละรายการ และรวมคะแนน ในภาพรวม ระดับ 1ระดับ 2ระดับ 3ระดับ 4ระดับ 5 60 %70 %80 %90 %100 % เหตุผล เพื่อให้ทุกรายการมีคะแนนตามผลของความก้าวหน้าของการดำเนินงาน แนวทางเสนอปรับเปลี่ยน ปี 2558

7 กลุ่มที่ 2 ตัวชี้วัดมิติภายนอกของกรมชลประทาน น้ำหนักรวม 20 ตัวชี้วัดมิติภายนอกของกรมชลประทานน้ำหนักคะแนน 1.4 ร้อยละของจำนวนแหล่งน้ำเพื่อชุมชน/ชนบท ที่เพิ่มขึ้นเทียบกับเป้าหมายตามแผน (แห่ง) 103.9500 1.5 จำนวนพื้นที่บริหารจัดการน้ำในเขตชลประทาน (Cropping intensity) (ล้านไร่) 105.0000 รวม 20

8 ตัวชี้วัดมิติภายนอกของกรม น้ำหนัก คะแนน 1.4 ร้อยละของจำนวนแหล่งน้ำเพื่อชุมชน/ชนบท ที่เพิ่มขึ้นเทียบกับเป้าหมายตามแผน (แห่ง) * จำนวน 138 แห่ง 103.9500 ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 12345 1.4 ร้อยละของจำนวน แหล่งน้ำเพื่อชุมชน/ชนบท ที่เพิ่มขึ้นเทียบกับเป้าหมายตาม แผน (แห่ง) 10.0 5075100100 ก่อน 15 ก.ย. 57 100 ก่อน 1 ก.ย. 57 8 * ประเมินผลให้คะแนน แยกรายแห่ง ร้อยละ 0-1920-3940-5960-7980-99100 รวม จำนวน รายการ --1315119 138

9 9 ร้อยละ 20-3940-5960-7980-99100 รวม สชป. 1 77 สชป. 2 55 สชป. 3 55 สชป. 4 55 สชป. 5 7714 สชป. 6 12710 สชป. 7 1131419 สชป. 8 11 สชป. 9 268 สชป. 10 33 สชป. 11 112 สชป. 12 44 สชป. 13 77 สชป. 14 11112 สชป. 15 88 สชป. 16 10 สชป. 17 88 รวม -131515119138

10 ตัวชี้วัดมิติภายนอกของกรม น้ำหนัก คะแนน 1.4 ร้อยละของจำนวนแหล่งน้ำเพื่อชุมชน/ชนบท ที่เพิ่มขึ้นเทียบกับเป้าหมายตามแผน (แห่ง) * จำนวน 138 แห่ง 103.9500 ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 12345 1.4 ร้อยละของจำนวน แหล่งน้ำเพื่อชุมชน/ชนบท ที่เพิ่มขึ้นเทียบกับเป้าหมายตาม แผน (แห่ง) 10.0 5075100100 ก่อน 15 ก.ย. 57 100 ก่อน 1 ก.ย. 57 10 * ประเมินผลให้คะแนน แยกรายแห่ง แนวทางเสนอปรับเปลี่ยน ปี 2558 ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 12345 1.4 ร้อยละของจำนวน แหล่งน้ำเพื่อชุมชน/ชนบท ที่เพิ่มขึ้นเทียบกับเป้าหมายตาม แผน (แห่ง) 10.0 60708090100 * ประเมินผลให้คะแนน แยกรายแห่ง

11 ตัวชี้วัดมิติภายนอกของกรม น้ำหนัก คะแนน 1.5 จำนวนพื้นที่บริหารจัดการน้ำในเขตชลประทาน (Cropping intensity) (ล้านไร่) 105.0000 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1ระดับ 2ระดับ 3ระดับ 4ระดับ 5 36.7736.7836.7936.8036.81 ผลการดำเนินงานภาพรวม ฤดูแล้ง 15,827,530ไร่ ฤดูฝน 21,231,759ไร่ รวมทั้งสิ้น 37,059,289ไร่ การกำหนดเป้าหมายระดับสำนักชลประทานของปี 2557 ใช้สูตร = (พื้นที่ตามแผนส่งน้ำฤดูแล้งของสำนัก + พื้นที่ตามผลการส่งน้ำของปีก่อนหน้า ของสำนัก) x ตัวคูณที่ทำให้เป้าหมายรวมของสำนักสูงกว่าเป้าหมายของกรม เล็กน้อย 11

12 จำนวนพื้นที่บริหารจัดการน้ำ ในเขตชลประทาน Cropping intensity (ไร่) ปีการ เพาะปลูก พื้นที่บริหารจัดการน้ำ (ไร่) พื้นที่ ชลประทาน ณ ต้นปี (ไร่) cropping Intensity (%) ฤดูแล้งฤดูฝนรวม 255113,816,95417,912,74331,729,69723,734,607133.69 255214,636,74318,384,08432,020,82723,925,020138.02 255314,062,67717,951,36632,014,04324,075,214132.97 255415,352,74618,860,91434,213,66024,170,375141.55 255516,222,51018,751,87334,974,38324,308,892143.87 2556*15,779,06821,014,43636,793,50424,394,892150.82 255715,827,53021,231,75937,059,28924,549,314150.96 12 * ตั้งแต่ปี 2556 นับรวมนาปรังครั้งที่ 2 และนาปีต่อเนื่อง 12

13 13 สำนัก ชลประทาน เป้าหมาย (ไร่) (ที่ 5 คะแนน) พื้นที่บริหารจัดการน้ำในเขตชลประทาน (ไร่) คิดเป็น ร้อยละ ฤดูแล้งฤดูฝนรวมทั้งปี สชป. 1847,000379,936497,953877,889103.65 สชป. 2994,102318,325658,617976,94298.27 สชป. 32,526,5481,212,7131,445,0892,657,802105.19 สชป. 43,066,3671,375,1281,760,3293,135,457102.25 สชป. 5712,413165,646610,891776,537109.00 สชป. 61,278,801663,3341,155,7081,819,042142.25 สชป. 7735,462229,947575,410805,357109.50 สชป. 81,355,706482,0811,196,4521,678,533123.81 สชป. 92,926,5511,474,0331,842,3493,316,382113.32 สชป. 103,564,9731,293,9972,038,5743,332,57193.48 สชป. 114,986,7552,311,1272,338,2134,649,34093.23 สชป. 125,071,0762,186,4602,736,8054,923,26597.09 สชป. 135,145,1672,173,8562,432,9164,606,77289.54 สชป. 14886,699421,078530,219951,297107.29 สชป. 151,371,684541,112701,0331,242,14590.56 สชป. 16723,824270,886373,410644,29689.01 สชป. 17630,548327,871337,791665,662105.57 รวม36,823,67515,827,53021,231,75937,059,289100.64 ข้อมูลจากระบบรายงานผมการปลูกพืชออนไลน์ http://wuse.rid.go.th ฤดูแล้ง ช่วงวันที่ 20-26 มิ.ย. 57 (รวมนาปรังครั้งที่ 2) ฤดูฝน ช่วงวันที่ 26 ก.ย. - 2 ต.ค. 57 (รวมนาปีต่อเนื่อง)

14 ตัวชี้วัดมิติภายนอกของกรม น้ำหนัก คะแนน 1.5 จำนวนพื้นที่บริหารจัดการน้ำในเขตชลประทาน (Cropping intensity) (ล้านไร่) 105.0000 เกณฑ์การให้คะแนน ปี 2557 ระดับ 1ระดับ 2ระดับ 3ระดับ 4ระดับ 5 36.7736.7836.7936.8036.81 14 * กำหนดโดยใช้ ค่าสูงสุดของปีก่อน ไว้ที่ 3 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ปี 2558 ระดับ 1ระดับ 2ระดับ 3ระดับ 4ระดับ 5 28.4928.5028.5128.5228.53 * เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 3 คำนวณจาก เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 3 ปี 2557 - พื้นที่นาปรังในเขตลุ่มน้ำเจ้าพระยาและลุ่มน้ำแม่กลอง 36.79 - 8.28 = 28.51 Interval = x ± 0.010 แนวทางเสนอปรับเปลี่ยน ปี 2558

15 กลุ่มที่ 3 ตัวชี้วัดมิติภายในองค์กร น้ำหนักรวม 30 ตัวชี้วัดมิติภายในน้ำหนักคะแนน 2. ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน (Service Level Agreement : SLA) : กรมชลประทานไม่มีตัวชี้วัดนี้ 0 - 3. ตัวชี้วัดการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 3.1 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน ( 77.91 %) 3.2 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่าย ภาพรวม ( 80.86%) 2.5 3.6400 1.0000 4. ตัวชี้วัดการประหยัดพลังงาน53.5000 5. ตัวชี้วัดการพัฒนาประสิทธิภาพระบบสารสนเทศภาครัฐ10 na 6. ตัวชี้วัดการพัฒนาสมรรถนะองค์การ 6.1 การจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์การ 6.2 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาองค์การ 1414 5.0000 7. ตัวชี้วัดการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ 7.1 การจัดทำแผนสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ 7.2 การดำเนินการตามแผนสร้างความโปร่งใส ฯ 7.3 ผลสำรวจความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ 1.5 2 5.0000 4.8733 na 15

16 สรุปบทเรียนโดยใช้ อริยสัจ 4 กับ D – M – A – I – C ทุกข์ (Problem) D = Define อะไรคือปัญหา (Y) M = Measure ปัญหามีขนาดเท่าใด ( How big is Y? ) วัดและรวบรวม ข้อมูลให้ได้ สมุทัย (Causes) A = Analyze วิเคราะห์ข้อมูลและกระบวนการ ว่า Y มีสาเหตุจากอะไร หา X ต้นตอให้เจอ มรรค (Means) I = Improve ขจัด X ที่เป็นสาเหตุทิ้งไป (ตรงนี้อาจต้องใช้ I อีกตัวคือ Innovation มาช่วย) C = Control ทำอย่างไรที่จะรักษา Y ใหม่ให้คงอยู่ตลอดไปและขยายผล ให้ Y ใหม่ถูกเผยแพร่ทั่วทั้งองค์กร โดยใช้การควบคุมภายในให้ได้ มาตรฐาน นิโรธ (Ultimate Outcome) = สภาวะทุกข์ (Problem) ดับสิ้นไป * ท่านเคยแปลกใจไหมว่า ทำไมที่เราแก้ปัญหาต่าง ๆ แล้ว หรือพยายามหาสาเหตุแล้ว แต่ไม่นานนักปัญหาเหล่านั้นก็ยังคงเกิดขึ้นอีก....อาจจะเป็นเพราะแนวทางแก้ไขใช้ไม่ได้ หรือใช้ได้แต่ไม่ได้ถูกนำไปใช้ 16

17 ขอขอบ คุณ 17


ดาวน์โหลด ppt รายงานผลการดำเนินงานตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการกรมชลประทาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 วันที่ 29 ตุลาคม 2557.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google