งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสื่อสารในครอบครัวกับพฤติกรรมก้าวร้าว ของนักเรียนวิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์

2 ปัญหา การสื่อสารของนักเรียนในครอบครัว นักเรียน นักเรียนมีความก้าวร้าว

3 วัตถุประสงค์ - เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสื่อสารในครอบครัวกับพฤติกรรมก้าวร้าว - เพื่อศึกษาการสื่อสารภายในครอบครัวระหว่างพ่อ แม่ และนักเรียน - เพื่อเปรียบเทียบระดับการสื่อสารภายในครอบครัวระหว่างพ่อและแม่

4 การสื่อสารในครอบครัว
กรอบแนวคิด ตัวแปรต้น การสื่อสารในครอบครัว ตัวแปรตาม - พฤติกรรมก้าวร้าว

5 ขอบเขตการวิจัย ประชากร นักเรียนปวช. 1 กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนปวช. 1
จำนวน 205 คน

6 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
- การสื่อสาร - ทฤษฎีการติดต่อสื่อสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

7 วิธีการดำเนินการวิจัย
สร้างเครื่องมือและตรวจสอบเครื่องมือ นำไปทดลองใช้กับกลุ่มนักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง นำมาใช้กับนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์ข้อมูล

8 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
ความสัมพันธ์ในครอบครัวกับพฤติกรรมก้าวร้าว พบว่าการสื่อสารภายในครอบครัว มีความสัมพันธ์เชิงลบเพียงเล็กน้อยกับพฤติกรรมก้าวร้าวทางกาย และพฤติกรรมก้าวร้าวทางวาจาอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติและพฤติกรรมก้าวร้าวทางกายมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลางกับพฤติกรรมก้าวร้าวทางวาจาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 พบว่า ลักษณะการสื่อสารภายในครอบครัวระหว่างพ่อกับแม่ของนักเรียนวิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยแม่มีลักษณะการสื่อสารทางบวกมากกว่าพ่อ

9 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยการสื่อสารระหว่างพ่อกับแม่ พบว่า ลักษณะการสื่อสารภายในครอบครัวระหว่างพ่อกับแม่ของนักเรียนวิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยแม่มีลักษณะการสื่อสารทางบวกมากกว่าพ่อ

10 สรุปผลการวิจัย 1. การสื่อสารภายในครอบครัว มีความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมก้าวร้าวทางกายและพฤติกรรมก้าวร้าวทางวาจาอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ หมายความว่า ถ้าการสื่อสารภายในครอบครัวสูง พฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนวิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการทางกายและทางวาจาต่ำและพฤติกรรมก้าวร้าวทางกายมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมก้าวร้าวทางวาจาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 หมายความว่า หากนักเรียนวิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการมีพฤติกรรมก้าวร้าวทางกายสูงจะมีพฤติกรรมก้าวร้าวทางวาจาสูงไปด้วย

11 สรุปผลการวิจัย - การสื่อสารกับพ่อแม่ของนักเรียนวิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ พบว่า โดยรวมได้รับการสื่อสารในครอบครัวทางบวก อยู่ในระดับมาก (x =3.50) - ลักษณะการสื่อสารในครอบครัวระหว่างพ่อกับแม่ของนักเรียนวิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยแม่มีลักษณะการสื่อสารทางบวกมากกว่าพ่อ

12 ประโยชน์ที่ได้จากการศึกษา
เป็นข้อมูลสำหรับครู-อาจารย์ รวมถึงผู้บริหารวิทยาลัยฯ พ่อแม่ หรือผู้ปกครองนักเรียน ได้ทราบถึงความสัมพันธ์ของการสื่อสารในครอบครัวกับพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียน และนำไปเป็นแนวทางในการให้คำปรึกษา แนะแนว แก้ไขปัญหาและลดพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนได้

13 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google